นักธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท

03 ย่อความ-อนุพุทธประวัติ

            อนุพุทธประวัติ คือ ความเป็นมาหรือประวัติของบุคคลผู้ได้บรรลุธรรม หรือตรัสรู้ธรรมตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการฟังพระธรรมคำสั่งสอนของพระองค์ แล้วได้บรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา บุคคลเหล่านี้เป็นพยานในการตรัสรู้ธรรมของพระพุทธองค์เป็นอย่างดี ในหลักสูตรธรรมศึกษาชั้นโท กำหนดให้เรียน ๔๐ องค์ ซึ่งเป็นพระอริยสาวกผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะคือเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ

04 ย่อความ-วินัยมุข เล่ม ๒

อภิสมาจาร

            คือ ขนบธรรมเนียมของภิกษุ สิกขาบทแผนกนี้มานอกพระปาติโมกข์ ไม่ได้บอกจำนวนแน่นอน แต่มีจำนวนมาก ท่านจัดไว้ตามกิจหรือวัตถุ เรียกว่า ขันธกะอันหนึ่งๆคือ
            1. ว่าด้วยอุโบสถ เรียกว่าอุโบสถขันธกะ
            2. ว่าด้วยจีวร เรียกว่า จีวรขันธกะ

คู่มือแนวข้อสอบนักธรรมโท ปี 2560 ครบทุกวิชา

คู่มือแนวข้อสอบนักธรรมตรี ปี ๒๕๖๐ ครบทุกวิชา สำหรับพระภิกษุ-สามเณรได้ฝึกทำข้อสอบเก่า (ปี๒๕๕๑-๒๕๕๙).

🍀 คู่มือ pdf  กดที่นี้   https://goo.gl/QRgLeY

จัดทำโดย กองธรรม โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย

วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม

            วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรมเป็นวิชาที่มีหลักการ เป็นเรื่องของความงามในการใช้ภาษา จึงเป็นวิชาที่นักเรียนจะต้องศึกษา และฝึกฝนให้มีประสบการณ์มากพอสมควรจึงจะมีความรู้ ความชำนาญในการใช้สำนวนภาษาที่ไพเราะและเหมาะสม อันจะทำให้เรียงความดีน่าอ่าน

ศาสนพิธี หมวดที่ ๑

             แบบอย่างหรือแบบแผนต่าง ๆ ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนา เรียกว่า ศาสนพิธี ความจริง พิธีกรรมต่าง ๆ มีด้วยกันทุกศาสนา และเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นภายหลังศาสนาแม้ศาสนพิธีในทางพระพุทธศาสนาก็เช่นเดียวกัน

ศาสนพิธี หมวดที่ ๒

บุญพิธี

            พิธีทำบุญเนื่องด้วยประเพณีในครอบครัว หรือในวันสำคัญต่าง ๆ ของคนไทยเพื่อเป็นสิริมงคล เรียกว่า บุญพิธี มี ๒ ประเภท คือ ทำบุญงานมงคล และทำบุญงานอวมงคล แต่ในที่นี้เป็นระเบียบ พิธีที่พระสงฆ์ควรรู้และปฏิบัติให้ถูกต้อง แบ่งออกเป็น ๙ พิธี คือ

ศาสนพิธี หมวดที่ ๓

ทานพิธี

            พิธีถวายทานต่าง ๆ เรียกว่า ทานพิธี การถวายทาน คือ การให้วัตถุหรือสิ่งของที่ควรให้ หรือสิ่งของที่ควรแก่ภิกษุใช้สอยด้วยความเต็มใจ ในที่นี้ของที่ควรถวายเป็นพิธีมีอยู่ ๑๖ อย่าง คือ

ศาสนพิธี หมวดที่ ๔ (จบ)

ปกิณกพิธี

            พิธีกรรมเบ็ดเตล็ดบางอย่างที่ชาวพุทธนิยมกัน แต่ยังไม่จัดเป็นหมวดหมู่เรียกว่า ปกิณกพิธี มีอยู่ ๕ ประการ คือ

อนุพุทธประวัติ พระสาวกกลุ่มที่ 1

อนุพุทธประวัติ

          อนุพุทธประวัติ คือ ความเป็นมาหรือประวัติของบุคคลผู้ได้บรรลุธรรม หรือตรัสรู้ธรรมตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการฟังพระธรรมคำสั่งสอนของพระองค์ แล้วได้บรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา บุคคลเหล่านี้เป็นพยานในการตรัสรู้ธรรมของพระพุทธองค์เป็นอย่างดี ในหลักสูตรธรรมศึกษาชั้นโท กำหนดให้เรียน ๔๐ องค์ ซึ่งเป็นพระอริยสาวกผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะคือเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ

อนุพุทธประวัติ พระสาวกกลุ่มที่ 2-3

พระสาวกกลุ่มที่ ๒   ๖.พระมหากัจจายนเถระ

สถานะเดิม

            พระมหากัจจายนะ ชื่อเดิมว่า กัญจนะ คนทั้งหลายเรียกชื่อท่านตามโคตรว่า กัจจายนะ และท่านมีผิวกายเหมือนทองคำ บิดามารดาเลยตั้งชื่อให้ว่า กัญจนะ บิดาชื่อว่า วัจฉพราหมณ์ มารดาไม่ปรากฏชื่อ เกิดในวรรณะพราหมณ์ ที่เมืองอุชเชนี แคว้นอวันตี ตระกูลกัจจายนโคตร ศึกษาจบไตรเพทตามลัทธิพราหมณ์ บิดาเป็นปุโรหิตของพระเจ้าจันฑปัชโชต เมื่อบิดาถึงแก่กรรมแล้วก็ได้รับตำแหน่งเป็นปุโรหิตแทน

 

อนุพุทธประวัติ พระสาวกกลุ่มที่ 4-5

พระสาวกกลุ่มที่ ๔   ๑๖. พระอานนทเถระ

สถานะเดิม

            พระอานนท์ พระนามเดิมว่า อานนท์ มีความหมายว่า เกิดมาทำให้ประยูรญาติต่างยินดี พระบิดาทรงพระนามว่า สุกโกทนะ พระมารดาทรงพระนามว่า กีสาโคตรมี เกิดที่เมืองกบิลพัสดุ์ ในวรรณะกษัตริย์ และเป็นสหชาต คือเกิดวันเดียวกับเจ้าชายสิทธัตถะ มีพระสหายสนิท ๕ พระองค์ คือ เจ้าชายภัททิยะ เจ้าชายอนุรุทธะ เจ้าชายภัคคุ เจ้าชายกิมพิละ และเจ้าชายเทวทัต

อนุพุทธประวัติ พระสาวกกลุ่มที่ 6-8 (จบ)

พระสาวกกลุ่มที่ ๖    ๒๖. พระโกณฑธานเถระ

สถานะเดิม

            พระโกณฑธาน ชื่อเดิมว่า ธานะ เพราะมีภาพลวงตาเป็นสตรีติดตามท่านอยู่ข้างหลัง พระภิกษุและสามเณรทั้งหลาย จึงเพิ่มชื่อให้ท่านว่า โกณฑธาน บิดาและมารดาไม่ปรากฏชื่อ เป็นชาวเมืองสาวัตถี แคว้นโกศล เกิดในวรรณะพราหมณ์

อุโบสถศีล ตอน ๑

ตอนที่ ๑  วิธีการรักษาศีลและการเข้าถึงพระรัตนตรัย

ศีล

            ศีล หมายถึง ปกติ คือปกติของคนต้องไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน ต้องไม่ลักขโมยของผู้อื่น ต้องไม่ล่วงละเมิดสามีภรรยาบุตรธิดาของบุคคลอื่น ต้องมีความจริงใจซึ่งกันและกัน ต้องเป็นผู้มีสติ ศีลนั้นเป็นเครื่องควบคุมความประพฤติทางกาย และวาจาให้เรียบร้อยดีงาม เป็นบ่อเกิดของความดีงามทั้งปวง ตั้งแต่เบื้องต้นไปจนถึงพระนิพพาน เป็นธรรมเนียมของชาวพุทธ ก่อนจะทำบุญอย่างอื่นต้องสมาทานศีลก่อน

เอตทัคคะ ๔๐ รูป ใน อนุพุทธประวัติ

อนุพุทธประวัติ  เอตทัคคะ  ๔๐  รูป

แนวข้อสอบ ธรรมศึกษาชั้นโท ทุกวิชา

วิชาธรรมวิภาค

ข้อสอบอนุพุทธประวัติ

ข้อสอบศาสนพิธี

ข้อสอบอุโบสถศีล

วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม


39872804
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
23265
26677
150164
39571724
861011
963129
39872804

Your IP: 171.97.80.40
2024-03-29 18:37
© Copyright pariyat.com 2024. by กองทะเบียนและสารสนเทศ

Search