หลักการต่างๆ

๑๘ เกณฑ์การเรียงประโยค

อ้างอิงจากหลักการแปลไทยเป็นมคธสำหรับชั้นป.ธ.๔-๕ โดยพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙)

 

หลักการแปลมคธเป็นไทย

หลักการแปลมคธเป็นไทย มี ๙ อย่าง ต้องดำเนินการแปลไปตามลำดับ ดังต่อไปนี้

หลักวาจกทั้ง ๕

กิริยาศัพท์ที่ประกอบด้วย วิภัตติ กาล บท วจนะ บุรุษ ธาตุ ดังนี้ จัดเป็น วาจก คือ กล่าวบทที่เป็นประธานของกิริยา ๕ อย่างคือ

ลำดับการวิเคราะห์ศัพท์นามกิตก์

(เทคนิคการสังเกตรูปและสาธนะ)

๑.ให้ดูที่ปัจจัยก่อน
          ๑.๑ ถ้านามกิตก์บทนั้นลง กฺวิ ณี ณฺวุ ตุ รู ปัจจัย ซึ่งเป็นกิตปัจจัยล้วน นามกิตก์บทนั้นจะเป็นกัตตุรูป กัตตุสาธนะเพียงประการเดียวเท่านั้น เป็นรูปอื่น,สาธนะอื่นไม่ได้โดยเด็ดขาด
          ๑.๒ แต่ถ้านามกิตก์บทนั้นลง ข ณฺย ปัจจัย ซึ่งเป็นกิจจปัจจัยล้วน นามกิตก์บทนั้นจะเป็นกัมมรูป กัมมสาธนะเพียงประการเดียวเท่านั้น เป็นรูปอื่น,สาธนะอื่นไม่ได้โดยเด็ดขาด
          เมื่อทราบรูปสาธนะและปัจจัยที่ลงแล้ว การวิเคราะห์ก็ไม่ใช่เรื่องที่ยากอีกต่อไป

 

การกำหนด การดูหนังสือบาลี

  1. กำหนดดูเริ่มต้นประโยค และสุดประโยคอยู่ตรงไหน ?
  2. กำหนดแยกแต่ละประโยค มีชั้นนอก ชั้นใน   หรือมีชั้นนอกอย่างเดียว  ชั้นในอย่างเดียว ?
  3. กำหนดประโยคย่อยแต่ละตอนว่า เป็นวาจกอะไร ?
  4. กำหนดคำ/บทในประโยคว่า เป็นลักษณะไหน ในจำนวน 8 ลักษณะ ?
  5. กำหนดในใจว่า คำไหนสัมพันธ์เข้ากับคำไหน  คำไหนขยายคำไหน ?
  6. กำหนดดูว่า ข้อความนี้แปลตามลำดับหลักการแปล  หรือต้องแปลรวบ ?
  7. กำหนด / สังเกต / จดจำศัพท์คำแปลให้แม่นยำ ?

 

หลักการแปลศัพท์ที่ทำหน้าที่อื่น ๆ

1. ศัพท์วิเสสนะ

หลักเกณฑ์/ความหมาย บทคุณนาม หรือวิเสสนะทุกบทที่ขยายนามนาม

สำนวนแปล ผู้...,มี...,อัน...

ตัวอย่าง  ยถาปิ  รุจิรํ  ปุปผํ  วณฺณวนตํ  สคนธกํ

(อ.ดอกไม้ อันงาม อันมีสี อันเป็นไปกับด้วยกลิ่น  ย่อมมี  แม้ฉันใดฯ)

© Copyright pariyat.com 2025. by กองทะเบียนและสารสนเทศ

Search