ตัวอย่าง โส กิร ทุคฺคตพฺราหฺมโณ อโหสิ. (ภาค 4)
อย่างใดอย่างหนึ่ง
ก. คนพูด หรือคนคิด จัดเป็นประโยคชั้นนอก
ข. คำของคนพูด หรือข้อความที่พูด จัดเป็นประโยคชั้นใน
หมายเหตุ บางทีมีประโยคชั้นนอก และชั้นในซับซ้อนกันถึง 2 ชั้น รวมเป็น 3 ชั้น เช่น บุคคลที่ 1
ก. คนพูด จัดเป็นประโยคชั้นนอก
ข. ข้อความที่พูดกับบุคคลที่ 2 จัดเป็นประโยคชั้นในที่ 1
ก. ข้อความที่อยู่ ภายใน เครื่องหมาย “…………………อิติ จัดเป็นประโยคชั้นใน
ข. ข้อความที่อยู่ ภายนอก เครื่องหมาย “…………………อิติ จัดเป็นประโยคชั้นนอก
ตัวอย่างประโยคชั้นใน 1 ชั้น
ป…………..“ ป……………………………..ก..อิติ…..ก.
พราหมโณ “ ภิกฺขูนํ วตฺตปฺปฏิวตฺตํ กโรมิ ภนฺเตติ อาห. (ภาค 4)
ตัวอย่างประโยคชั้นใน 2 ชั้น
ป………….“ ป……“ ป………………..…….ก..อิติ………..ก..อิติ…..ก.
(วาณิชกา) “ เตปิ “รญฺญา สทฺธึเยว ปพฺพชิสฺสามาติ คตา เทวีติ อาหํสุ. (ภาค 4)
ตัวอย่าง “……………………………………….อิติ
“ พหุกา มยํ ภคินีติ. (ภาค 4)
“ กิตฺตกา ภนฺเตติ. (ภาค 4)
ในกรณีเช่นนี้ เวลาแปลต้องเติมประโยคชั้นนอก ได้แก่ คนพูด(ประธาน) และกิริยาคุม-
ในการเติมนั้น ต้องคำนึงว่า ภายในข้อความเครื่องหมาย “…………….อิติ เป็นคำถาม
ก. ถ้าเป็น ข้อความคำถาม ให้เติม ปุจฺฉิตฺวา, ปุจฺฉิ, ปุจฺฉึสุ
ข. ถ้าเป็น ข้อความคำพูดตอบ ให้เติม วตฺวา, อาห, อาหํสุ
ค. ถ้าเป็น ข้อความคิด ให้เติม จินฺเตตฺวา, จินฺตยิ-จินฺเตสิ, จินฺตยึสุ
ง. ถ้าเป็น ข้อความอื่น ๆ ให้พิจารณาตามสมควร เช่น ตีกลอง, ดีดนิ้ว ฯลฯ
เติม ญาปนเหตุกํ เป็นต้น
ข้อควรจำ
รูปแบบประโยคทั้งหมดไม่ว่าชนิดไหน จะต้องอยู่ในประเภทวาจกทั้ง 5 อย่าง คือเป็นวาจกใดวาจกหนึ่งใน 5 วาจกแน่นอน
ก. กัตตุวาจก, เหตุกัตตุวาจก นิยมใช้กิริยาคุมพากย์เป็น รูปกิริยาอาขยาต
ข. ภาววาจก, กัมมวาจก, เหตุกัมมวาจก นิยมใช้กิริยาคุมพากย์เป็น รูปกิริยากิตก์
ที่อยู่ : 23/2 หมู่ 7 โรงเรียนพระปริยัติธรรม
วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
dummy 02-831-1000 ต่อ 13710