อื่นๆ

เทียบอักษรบาลีไทยเป็นโรมัน แบบราชบัณฑิตฯ

อีกอย่างหนึ่ง เมื่อผู้ใดตั้งชื่อขึ้นมาแล้ว ก่อนที่ผู้นั้นจะนำไปใช้เรียกชื่อกันจริงๆ มีข้อที่ควรพิจารณาสองอย่างเกี่ยวกับการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน ประการแรกคือ สระที่ปรากฏอยู่ในชื่อคำไทยเมื่อถอดออกมาเป็นอักษรโรมันแล้วไม่ควรได้รูปเป็นสระผสม เพราะผู้อ่านอาจจะอ่านยากและอ่านออกเสียงไม่ถูกต้อง ถ้ามีสระผสมสองตัวก็พออ่านกันได้ แต่ถ้ามีสระผสมรวมกันสามตัวก็คงอ่านยากแน่ๆ อีกประการหนึ่ง หลังจากท่านถอดสระจากชื่อคำไทยเป็นอักษรโรมันแล้วไม่ควรมีเครื่องหมาย ( - ) ขีดคั่นกลางระหว่างชื่อเพื่อแบ่งพยางค์ให้แยกอ่าน เพราะรูปคำในอักษรโรมันที่ปรากฏออกมาอาจดูแล้วยืดเยื้อและอักษรไม่สวย ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการตั้งชื่อในลักษณะดังกล่าว

คำบาลีเกี่ยวกับคำถวายทานต่าง ๆ

คำบาลีเกี่ยวกับคำถวายทานต่าง ๆ (สำหรับพิธีกรผู้ชำนาญภาษาบาลี)

 

(กล่าวนำ - หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการังกะโรมะเส.)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ )

คำถวายสังฆทานเป็นภาษาบาลี

อิมานิ มะยัง ภันเต / ภัตตานิ / สะปะริวารานิ / ภิกขุสังฆัสสะ / โอโณชะยามะ, / สาธุ โน ภันเต / ภิกขุ สังโฆ / อิมานิ / ภัตตานิ / สะปะริวารานิ / ปะฏิคคัณหาตุ / อัมหากัง / ทีฆะรัตตัง / หิตายะ / สุขายะ / นิพพานายะ จะฯ

คำแปล

ข้าแต่พระภิกษุสงฆ์ผู้เจริญ, ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอน้อมถวาย, ภัตตาหาร, พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้, แด่พระภิกษุสงฆ์, ขอพระภิกษุสงฆ์, จงรับ, ภัตตาหาร, พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายเหล่านี้, ของข้าพเจ้าทั้งหลาย, เพื่อประโยชน์, เพื่อความสุข, เพื่อมรรคผลนิพพาน, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ตลอดกาลนานเทอญ.

 

***หมายเหตุ (ค้นหาศัพท์ว่าเป็นลิงค์อะไร)

 ศัพท์ที่เป็น เอก.(สิ่งเดียว) พหุ.(หลายสิ่ง)
ปุงลิงค์ อิมัง อิเม
อิตถีลิงค์ อิมัง อิมา
นปุงสกลิงค์ อิทัง, อิมัง อิมานิ

เช่น พหุ. อิเม จะตุปัจจะเย (จตุปัจจัยทั้งหลายเหล่านี้), เอก. อิมัง จีวะรัง (จีวรนี้) พหุ. อิมานิ จีวะรานิ (จีวรทั้งหลายเหล่านี้)

หลายคนใช้ มะยัง, โอโณชะยามะ, โน, อัมหากัง   คนเดียวใช้ อะหัง, โอโณชะยามิ, เม, มัยหัง

 

หลักเกณฑ์การอ่านภาษาบาลี

ภาษาบาลีเป็นภาษาของชาวอินเดียแคว้นมคธมาตั้งแต่สมัยโบราณ เมื่อนำมาเรียนกันในประเทศไทยก็ได้ใช้ตัวอักษรของไทยเขียนภาษาบาลีโดยมีสระและพยัญชนะ ดังนี้

พจนานุกรม บาลี-อังกฤษ โดย The Pali Text Society

The Pali Text Society's Pali-English Dictionary

พจนานุกรม บาลี-อังกฤษ ของ The Pali Text Society

   

บทสนทนา ไทย-บาลี-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 1

 

บทสนทนา ไทย-บาลี-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 1

 

ที่

ไทย

บาลี

อังกฤษ

จีน

ญี่ปุ่น

1

สวัสดีครับ

สุปฺปภาตํ

Hello

你好

こんにちは

2

คุณชื่ออะไร ?

กินฺนาโมสิ ?

What’s your name ?

你叫什么名字 ?

お名前 は?

3

ยินดีต้อนรับ

สฺวาคตํ เต

welcome

欢迎你

いらっしゃいませ。

4

คุณสบายดีไหม

กจฺจิ นุ โข เต กุสลํ ? /

How are you ?/

你好吗?

お元気ですか?

 

 

กจฺจิ นุ โข เต อนามยํ ?

 Are you fine ?

 

 

5

ฉันสบายดี

อหํ กุสลี (ชายพูด)

I'm fine

我很好

元気です。

 

 

 อหํ กุสลินี (หญิงพูด)

 

 

 

6

คุณอายุเท่าไรครับ ?

 ตฺวํ กติวสฺโสสิ ? (ถาม ช) 

How old are you ? 

你几岁 ?

あなたは何歳 -

 

 

ตฺวํ กติวสฺสา ? (ถาม ญ) 

 

 

 ですか ?

7

คุณมาจากประเทศอะไรครับ ?

กุโต อาคโตสิ ?

Where are you from ? /

你从哪里来?

お国はどちら -

 

 

 

What do you come from ?

 

 ですか?

8

ผมมาจากประเทศไทย

ทยฺยปเทสโต อาคโตมฺหิ

I’m from Thailand.

我从泰国来 

タイから来ました。

9

ฉันรักเธอ

อหํ ตุวํ กมฺเมมิ

I love you

我爱你

愛してる。

10

เชิญนั่ง

ยถาสุขํ นิสีทถ

feel free to sit here /

请坐

座ってください。

 

 

 

please take a seat /

 

 

 

 

 

sit down please

 

 

 

 

 

 

บทสนทนา ไทย-บาลี-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 2

 

บทสนทนา ไทย-บาลี-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 2

ที่

ไทย

บาลี

อังกฤษ

จีน

ญี่ปุ่น

1

ห้องนํ้าไปทางไหนครับ/ คะ ?

กตฺถ วจฺจกุฏิ ?

Where is the toilet ?

洗手间在哪儿?

トイレはどこですか?

 

         

2

รอสักครู่ครับ/ ค่ะ

ตาว ติฏฺฐถ.

 Wait a moment.

 请你等一下。

 しばらく お待ちください。

 

 

 

 

 

 

3

ต้องการชิ้นนี้ครับ/ ค่ะ

อิมํ วตฺถุํ อิจฺฉามิ.

I will take it / this.

 我要这个。

これをください。

 

 

 

 

 

 

4

คุณทำงานอะไรครับ/ คะ ?

กึ กมฺมํ กโรสิ ?

What do you do ?

你做什么工作吗 ?

お仕事は何ですか?

 

 

 

 

 

 

5

คุณอายุเท่าไรครับ/ คะ ?

กิตฺตกํ เต อายุ ?

How old are you ?

你几岁?

あなたは何歳ですか?

 

 

 

 

 

 

 

 

บทสนทนา ไทย-บาลี-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 3

 

บทสนทนา ไทย-บาลี-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 3

 

ที่

ไทย

บาลี

อังกฤษ

จีน

ญี่ปุ่น

           

1

คุณพูดภาษาไทย-

กึ นุ โข ทยฺยภาสํ-

Do you speak Thai ?

你会说泰语吗 ?

あなたはタイ語が-

 

ได้ไหมครับ / คะ ?

วทิตุํ สมตฺโถสิ ?

   

話せますか?

           

2

ราคาเท่าไรครับ / คะ ?

อิมิสฺส วตฺถุสฺส-

How much is it ?

多少钱 ?

いくらですか?

   

อคฺโฆ กิตฺตโก ?

     
           

3

ไปกันเลย

เอหิ, คจฺฉาม.

Let’s check it out.

走吧。

行きましょう。

 

(ไปกันเถอะ)

 

(Let’s go)

 

 

           

4

คุณกำลังทำอะไรอยู่ครับ / คะ ?

กึ กโรสิ ?

What are you doing ? 

你正在做什么?

何をしていますか?

 

 

 

(Where ya doin ?)

 

 

           

5

คุณกำลังจะไปไหนครับ / คะ ?

คจฺฉ กุหึ ?

Where are you going ?

你正在去哪儿?

どこへ行ってますか ?

 

 

 

(Where ya goin ?)

 

 

 

 

บทสนทนา ไทย-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 4

 

บทสนทนา ไทย-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 4

 

1. คุณรับ (อันนี้ (ชิ้นนี้), กาแฟ, ชา, โคล่า, น้ำ) ไหมครับ / คะ ?

Would you like to drink (this one, coffee, tea, kola, water) ?

你要不要 ((這個)、咖啡、茶、可乐 (可樂)、水)?

あなたは (これ、コーヒー、お茶、コーラ、お水) が 飲みますか?

 

2. ฉันขอ (อันนี้ (ชิ้นนี้), กาแฟ, ชา, โคล่า, น้ำ) หน่อยครับ / คะ

Can I have (this one, coffee, tea, kola, water).

请给我 (这个 (這個)、咖啡、茶、可乐 (可樂)、水)​ 。

(これ、コーヒー、お茶、コーラ、お水) を下さい。

 

3. ฉันขอลองหน่อยได้ไหมครับ / คะ ?

Can I try it on ?

你可以试一试吗 ?

試着してもいいですか ?

 

4. มี…อื่นอีกไหมครับ ? (ยี่ห้อ, สไตล์, สี)

Do you have this in another… ? (brand, style, color)

你有别的...吗 ?(牌,款式,颜色)

他の...がありますか? (メーカー、スタイル、色)

 

5. คุณมีไซส์ที่ (ใหญ่, เล็ก) กว่านี้ไหมครับ ?

Do you have a (bigger, smaller) size ?

你有(大,小)号吗 ?

もっと (大きい、小さい) サイズがありますか?

บทสนทนา ไทย-บาลี-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 5

 

 

บทสนทนา ไทย-บาลี-อังกฤษ-จีน-ญี่ปุ่น ตอนที่ 5

 

ที่

ไทย

บาลี

อังกฤษ

จีน

ญี่ปุ่น

           

1

ตามฉันมา. มยา สทฺธึ อาคจฺฉถ. Follow me. 跟我来 私について来て下さい。
         (跟我來)

 

           

2

ตรงไปข้างหน้า

ปุรโต คจฺฉถ.

go straight / go right -

往前走

まっすぐ行ってください

   

 

 ahead / go down.    
           

3

เลี้ยวซ้าย

วามโต คจฺฉถ.

Turn left.

左转 (左轉)

左へ曲がってください。

 

 

 

 

 

 

           

4

เลี้ยวขวา

ทกฺขิณโต คจฺฉถ.

Turn right.

右转 (右轉)

右へ曲がってください。

 

 

 

 

 

 

           

5

เชิญทางนี้ครับ/ ค่ะ

อิตรโต อาคจฺฉถ.

this way please.

这边请 (這邊請)

ここにどうぞ

 

 

 

 

 

 (こちらへどうぞ)

 

บทความพระพุทธศาสนา : HAPPINESS (ความสุข)

 

ผู้เขียน : 釋清勝

ว/ด/ป : 22 กรกฎาคม 2562

HAPPINESS (ความสุข)

          ยุคสมัยแห่งความโกลาหล เป็นดั่งเส้นรอบวงกลม ที่ไม่ว่ากาลเวลาจะเปลี่ยนผ่านไปนานสักเท่าใด สุดท้ายก็เหมือนจะวนลูบกลับมาเกิดขึ้นอีกเสมอไป ตั้งแต่ยุคชุนชิวจ้านกว๋อ (770 B.C. – 222 B.C.) ยุคสามก๊ก (220 A.D. – 280 A.D.) ยุคล่าอาณานิคมต่างๆ สงครามโลกครั้งที่ 1-2 (war l – ll) สงครามเย็น (Cold War) สงครามกลางเมือง หรือแม้กระทั่งสงครามเศรษฐกิจที่ยังคุกรุ่นอยู่ในปัจจุบัน สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ ล้วนเกิดจากแนวคิดที่อยากจะเปลี่ยนแปลงความเป็นไปต่างๆ ของโลกให้ดีขึ้น ให้ผู้คนมีความสุขยิ่งขึ้น แต่กลับลืมไปว่า สิ่งที่จำต้องเปลี่ยนแปลงให้เร็วที่สุด คือ “ศีลธรรมในตนเอง” ดั่งที่นักเขียนชาวรัสเชีย เลโอ ตอลสตอย (1828 A.D. – 1910 A.D.) ได้กล่าวว่า “ผู้คนทั้งหลายต่างมีแนวความคิดที่อยากจะเปลี่ยนแปลงกลไกของโลกด้วยกันทั้งนั้น แต่หามีผู้ใดเลย ที่คิดที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองก่อน” เพราะเมื่อทุกคนบนโลกเปลี่ยนแปลงตนเองให้ดีขึ้น ประพฤติอยู่ในศีลและธรรม (เบญจศีล 5 และเบญจธรรม 5) โลกก็จะดีขึ้นเป็นเงาตามตัว มนุษย์ทุกคนก็จะมีความสุข กลายเป็นสังคมในอุดมคติ ที่มักเรียกกันว่า “ยุคพระศรีอาริย์ หรือ ยูโทเปีย” เลยทีเดียว

          ในทัศนะทางพระพุทธศาสนา ได้กล่าวถึงความสุขหลายประเภท ตั้งแต่ความสุขจากการครองเรือน (กามสุข) สุขในฌานสมาบัติ (ทิวิยสุข) หรือกระทั่งสุขที่ยอดเยี่ยมที่สุด คือ พระนิพพาน (นิพฺพานสุข, ตณฺหกฺขยสุข) ซึ่งความสุขทั้ง 3 ระดับนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า (623 B.C. – 543 B.C.) ทรงสรรเสริญความสุขประเภทที่ 3 ว่าสุขที่สุด ดังที่ได้ตรัสว่า “กามสุขในโลกและทิพยสุข ย่อมไม่ถึงเสี้ยวที่ 16 (ที่จําแนกออก 16 หน) แห่งสุขคือความสิ้นตัณหา” (ขุ.อุ.อ. (ไทย) 44/ 52/ 167) และการจะเข้าถึงความสุขในระดับนี้ได้ จำต้องเกิดจากการประพฤติปฏิบัติด้วยตนเอง (ปจฺจตฺตํ) โดยวิธีการหยุดใจนิ่งๆ สมดังวาระพระบาลีที่ว่า “นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ” แปลว่า “สุขอื่นนอกจากความหยุดนิ่ง (สงบ) ย่อมไม่มี” (ขุ.ธ. (บาลี) 25/ 25/ 42) แล้วใจที่หยุดที่นิ่งนั้น ควรจะเอาไปไว้ ณ ที่ใด ? พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) (1884 A.D. – 1959 A.D.) ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย ท่านได้ค้นพบเมื่อ 101 กว่าปี ที่ผ่านมา เมื่อวันขึ้น 15 ค่า เดือน 10 (1917 A.D.) โดยท่านได้ให้หลักการโดยสรุปไว้ว่า ให้เอาใจมาหยุดนิ่งไว้ตรงกลางท้อง เหนือสะดือ 2 นิ้วมือ ซึ่งเรียกว่า “ศูนย์กลางกายฐานที่ 7” โดยบริกรรมนิมิตเป็น “ดวงแก้วใสหรือองค์พระแก้วใส” พร้อมบริกรรมภาวนาว่า “สัมมา อะระหัง” ตามทางที่พระบรมศาสดาเอกของโลกได้ดำเนินเป็นต้นแบบแล้วนั่นเอง

          เมื่อประพฤติปฏิบัติตามที่กล่าวมาแล้วนี้ เชื่อได้ว่า วงโคจรแห่งความวุ่นวายที่วนลูบเป็นวงกลม จะเกิดการเปลี่ยนแปลง เกิดเส้นตัดที่เรียกว่า “ความสุข” โดยที่สุด แม้กระทั่ง ความสุขที่เกิดจากการขจัดกิเลสอาสวะก็จะบังเกิดขึ้น และโลกใบนี้คงจะได้นิยามใหม่ว่า “สวรรค์บนดิน” อย่างแน่นอน

 

ชีวิตคือการเดินทาง (人生是一場旅行)

 

ถ่ายทอดเป็นภาษาจีนโดย : 釋覺勝

人生是一場旅行

          喜愛旅遊者總到各個地方旅遊為了累積不同經驗,而後回來將經歷過的故事來分享與大家聽,其之故事有的也很有趣,有的也很驚險。但有的旅行者卻有悲慘的故事。
          很久以前有一位抱有環遊世界之夢想的窮人。他為了完成自己的夢想花了許久的時間做各式各樣的工作累積旅行費錢,終於買到了一張環遊世界的船票。這張船票幾乎花了他一生賺來的錢。要上船前他準備了乾酪及麵包當旅行的盤纏。
          在船上的第一天,他靠自己準備的乾酪跟麵包解餓,但時間過久了他的乾酪就開始腐爛,麵包也開始堅硬,他要忍耐地把乳酪跟麵包一口一口地吞下去,同時也看著服務生端著又熱又好吃的飯菜走經過他前面,一日接著一日地過去,他一天從來沒嘗過好吃飯菜的味道。船快抵達目的地時,他的腐爛乾酪跟堅硬的麵包就別他吃光了。到了用膳的時間他看到服務生端著剛做好的飯菜從廚房走出來,他ㄧ聞到飯菜的香味,其香味讓他的肚子非常餓,於是他決定抓住服務生的手跟服務生說『我求求你了,你能不能給我一點飯菜吃,要我做什麼來報答都行』。服務生以奇怪的眼神地看著他,然後跟他說『你沒買船票嗎?』他說『當然買過了!』也給服務生看船票。服務生就說『所有的膳食跟旅遊費都包括在裡面』。他一聽到了服務生說的話就非常驚訝
          各位!有些人可能會覺得他的故事太可笑。但其實我們的人生跟的故事也沒什麼區別,人生就像一場旅行,每個人都買了旅遊票,尤其是我們能成為人類此事就彷彿可得到最高價的票。此張票有旅遊的特權。我們人類能夠做善事,得到幸福,此是成為人類的特權。我們要勇敢使用此特權,勇敢地微笑,勇敢地說好話。勇敢地想好事,勇敢地設計美好的人生。因為所有的權利都已經包括在這張票裡。若是一整天只想著痛苦之事,這樣我們的人生就猶如自己明明有吃好吃飯菜可使用的權利卻每天忍著將腐爛乾酪和堅硬麵包吞下肚子的可憐旅行者。我們每個人都是要克服許多人生的風風雨雨,為了完成自己夢想的旅行者, 希望大家使用自己的特權,微笑地向前走,能夠順利地達到自己理想的目的地。

 

 

© Copyright pariyat.com 2024. by กองทะเบียนและสารสนเทศ

Search