อินทรวงศ์ฉันท์

อินทรวงศ์ฉันท์  ครูแปลว่า "ฉันท์มีเสียงไพเราะเหมือนปี่พระอินทร์"  ฉันท์นี้เป็นทวาทสักขรฉันท์ ในแต่ละบาท กำหนดให้มี ๑๒ อักษร (๑๒ คำ) ใช้คณะลง ๔ คณะ คือ ต, ต, ช, ร  ฉันท์นี้ไม่มีครุลอย มี ยติ ๕-๗

ข้อสังเกต

ฉันท์นี้คล้ายกับอินทรวิเชียรฉันท์  ใน ๑๐ คำแรกทุกอย่าง เป็นแต่เปลี่ยนครุลอยตัวสุดท้ายในอินทรวิเชียร (โค) เป็นลหุ กับ ครุ (ช  รา) เท่านั้นและครุท้ายบาทในฉันท์นี้ (รา) เล่า ก็สามารถใช้ ลหุ แทน เป็นปาทันตครุ ได้เช่นเดียวกับฉันท์ที่กล่าวแล้วข้างต้น

สูตรของอินทรวงศ์ฉันท์ในคัมภีร์วุตโตทัย

สายินฺทวํสา  ขลุ  ยตฺถ  ตา  ช  รา

แผนผังประกอบของฉันท์นี้

ตัวอย่าง

เอโส  หิ  ปุพฺเพกตปุญฺญตายุโต
ปุญฺญาธิกาเรน  สุลทฺธมงฺคโล
สพฺพางฺคเสตา  วรกุญฺชรา  ตโย
เสฏฺฐา  จ  เทฺว  เสตกเรณุกา  สุภา
ปญฺเจว  เสตพฺพรฉตฺตมาคตา
ตพฺพาหสา  เสตคชินฺทภูมิโป
อิจฺเจว  ยาวชฺชตนา  สุวิสฺสุโต
โสภาปิ  พุทฺธปฺปฏิมา  อนคฺฆิยา
เตเนว  ปุสฺสํ  รตนนฺติ  สวฺหยา
ปุญฺญานุภาวา  ปฏิลทฺธกา  อหุ ฯ
(ฉันท์เทอดพระเกียรติ ฯ ร.๒)

 


ที่มา "หลักการแต่งฉันท์ภาษามคธ" พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙)





 


45611361
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
2645
40295
42940
45235495
270413
1019588
45611361

Your IP: 35.171.164.77
2024-10-07 01:52
© Copyright pariyat.com 2024. by กองทะเบียนและสารสนเทศ

Search