#

อสีติมหาสาวก

อสีติมหาสาวก คือ พระภิกษุสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ รูป หรือ พระสาวกผู้ยิ่งใหญ่ ๘๐ รูป หรือ พระสาวกสำคัญ ๘๐ รูป ของพระพุทธเจ้า

ความหมายของคำว่า ‘อสีติมหาสาวก’ ตามรูปศัพท์ คำว่า ‘อสีติมหาสาวก’ เป็นคำสมาสประกอบด้วยคำ ‘อสีติ’ และ ‘มหาสาวก’ คำว่า ‘อสีติ’ เป็นปกติสังขยา คือ จำนวนนับตามปกติ แปลว่า ‘๘๐’ ส่วน ‘มหาสาวก’ ประกอบด้วยคำว่า ‘มหา’ ซึ่งเป็นคุณศัพท์แปลว่า ใหญ่,มาก, สำคัญ และคำว่า ‘สาวก’ ซึ่งเป็น คำนามกิตก์ ประกอบรูปมาจากธาตุ ‘สุ’ (ในความหมายว่าฟัง) +ปัจจัย ณฺวุ มีรูปศัพท์ ว่า ‘สาวก’ แปลว่า ผู้ฟัง ในที่นี้หมายถึง ภิกษุผู้บรรลุธรรมชั้นสูงสุดคืออรหัตผล

ดังนั้นคำว่า ‘อสีติ’ และ ‘มหาสาวก’ เมื่อรวมเข้าด้วยกันเป็นคำสมาส เป็น ‘อสีติมหาสาวก’ จึงแปลว่า พระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ รูป หรือ พระสาวกผู้ยิ่งใหญ่ ๘๐ รูป หรือ พระสาวกสำคัญ ๘๐ รูป

เมฆิย (พระเมฆิยเถระ)

เมฆิย (พระเมฆิยเถระ)

พึงเจริญธรรม ๔ ประการให้ยิ่งขึ้นไป คือ

พึงเจริญอสุภะเพื่อละราคะ

พึงเจริญเมตตาเพื่อละพยาบาท

พึงเจริญอานาปานสติเพื่อตัดวิตก

พึงเจริญอนิจจสัญญาเพื่อเพิกถอนอัสมิมานะ

 

เมตตคู(พระเมตตคูเถระ)

เมตตคู(พระเมตตคูเถระ)

พระพุทธเจ้า ทรงอุบัติขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เพื่อประโยชน์เกื้อกูล แก่สัตว์ทั้งปวง

พระธรรม เกิดขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เพื่อความสุขแก่สัตว์ทั้งปวง

พระสงฆ์เกิดขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เป็นบุญเขต ที่ไม่มีอะไรยิ่งไปกว่า ดังนี้

เหมกะ(พระเหมกเถระ)

เหมกะ(พระเหมกเถระ)

พระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ทั้งปวง

พระธรรมเกิดขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เพื่อความสุขแก่สัตว์ทั้งปวง

พระสงฆ์เกิดขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เป็นบุญเขตที่ไม่มีอะไรยิ่งไปกว่า ดังนี้

โตเทยย (พระโตเทยยเถระ)

โตเทยย (พระโตเทยยเถระ)

ผู้ใดไม่มีกามทั้งหลาย ไม่มีตัณหา และข้ามความสงสัยได้แล้ว

ความพ้นวิเศษของผู้นั้นเป็นอย่างไร ฯ

โธตกะ(พระโธตกเถระ)

โธตกะ(พระโธตกเถระ)

พระพุทธเจ้า ทรงอุบัติขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เพื่อประโยชน์เกื้อกูล แก่สัตว์ทั้งปวง

พระธรรม เกิดขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เพื่อความสุขแก่สัตว์ทั้งปวง

พระสงฆ์เกิดขึ้นพร้อมแล้วในโลก

เป็นบุญเขต ที่ไม่มีอะไรยิ่งไปกว่า ดังนี้

<<  10 11 12 13 14 [1516  >>  
40878030
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
27010
22391
215178
40477143
96333
832722
40878030

Your IP: 193.186.4.155
2024-05-04 18:40
© Copyright pariyat.com 2024. by กองทะเบียนและสารสนเทศ

Search