หลักสูตรอภิธรรมบัณฑิต

            การศึกษาหลักสูตรอภิธรรมบัณฑิต (ชั้นนักศึกษา) จะแบ่งออกเป็น ๓ ระดับ รวม ๙ ชั้น   ผู้ที่สอบผ่านทั้ง ๙ ชั้นนี้ จะได้รับวุฒิการศึกษา อภิธรรมบัณฑิต

เนื้อหาหลักสูตร

 ชั้น   เนื้อหา   ระยะเวลาเรียน 
ชั้น จูฬอาภิธรรมิกตรี (จูฬตรี) อภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๑, ๒, ๖ ๖ เดือน
ชั้น จูฬอาภิธรรมิกโท (จูฬโท) อภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๓, ๗ ๖ เดือน
ชั้น จูฬ อาภิธรรมิกเอก (จูฬเอก) ธัมมสังคณีสรูปัตถนิสสยะ (มาติกาโชติกะ) ๖ เดือน
ชั้น มัชฌิมอาภิธรรมิกตรี (มัชฌิมตรี) อภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๔, ๕ ๑ ปี
ชั้น มัชฌิมอาภิธรรมิกโท (มัชฌิมโท) อภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๘, ๙ ๑ ปี
ชั้น มัชฌิมอาภิธรรมิกเอก (มัชฌิมเอก) ธาตุกถาสรูปัตถนิสสยะ ๑ ปี
ชั้น มหาอาภิธรรมิกตรี (มหาตรี) ยมกสรูปัตถนิสสยะ ๑ ๑ ปี
ชั้น มหาอาภิธรรมิกโท (มหาโท) ยมกสรูปัตถนิสสยะ ๒ ๑ ปี
ชั้น มหาอาภิธรรมิกเอก (มหาเอก) มหาปัฏฐานสรูปัตถนิสสยะ ๑ ปี

 

หลักสูตรอภิธรรมมหาบัณฑิต

            การศึกษาหลักสูตรมหาบัณฑิต (ชั้นอาจารย์) จะแบ่งออกเป็น ๒ ระดับ รวม ๖  ชั้นผู้ที่สอบผ่านทั้ง ๖ ชั้นนี้ จะได้รับวุฒิการศึกษา อภิธรรมมหาบัณฑิต

เนื้อหาหลักสูตร

 ชั้น   เนื้อหา 
ชั้น อภิธรรมกถิกตรี (กถิกตรี) ปุจฉาวิสัชนาโชติกะ, ประทีปส่องทางของชาวโลก, สิ่งที่เป็นไปได้ยากในโลก 
ชั้น อภิธรรมกถิกโท (กถิกโท)  ปกิณณกปัญหา, ธรรมเครื่องค้ำจุนโลก, ธุดงค์ ๑๓
ชั้น อภิธรรมกถิกเอก(กถิกเอก)  กุศลบารมี, โพธิปักขิยธรรม๓๗ ประการ, มงคล ๓๘ ประการ  
ชั้น อภิธรรมาจริยตรี (จริยตรี)  ขันธาทิจตุกะ , สีลวิสุทธิ, จิตตวิสุทธิ, ธัมมสังคณี
ชั้น อภิธรรมาจริยโท(จริยโท)  กถาวัตถุ, ธาตุกถา - ปุคคลบัญญัติ, ทิฏฐิวิสุทธิ, กังขาวิตรณวิสุทธิ
ชั้น อภิธรรมาจริยเอก (จริยเอก) พระยมกปกรณ์, พระมหาปัฏฐาน , มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ,
ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ, ญาณทัสสนวิสุทธิ, คู่มือเบื้องต้นการปฏิบัติ

 

Leave a comment

You are commenting as guest.


48526683
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
68595
49821
262101
48046170
740439
1272582
48526683

Your IP: 3.16.82.199
2024-12-21 22:04
© Copyright pariyat.com 2024. by กองทะเบียนและสารสนเทศ

Search