ชื่อตัทธิต | ความหมาย | ปัจจัย | ||
สามัญญตัทธิต | ||||
โคตตตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน โคตฺต ศัพท์ ( อปจฺจ ) | ณ ,ณายน ,ณาน ,เณยฺย , ณิ , ณิก , ณว , เณร | |
ตรัตยาทิตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน ตรติ ศัพท์เป็นต้น | ณิก | |
ราคาทิตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน ราค ศัพท์เป็นต้น | ณ | |
ชาตาทิตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน ชาต ศัพท์เป็นต้น | อิม ,อิย ,กิย | |
สมุหตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน สมุห ศัพท์ | กณ , ณ , ตา | |
ฐานตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน ฐาน ศัพท์ | อีย ( ฐาน / อรหติ / หิต / ภว ) เอยฺย ( อรหติ ) | |
พหุลตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน พหุล ศัพท์ ( และปกติ ) | อาลุ | |
เสฏฺฐตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน เสฏฺฐ ศัพท์ | ตร ,อิย ,อิยิสฺสก ( วิเสเสน กว่า ) | |
ตม , อิฏฺฐ ( อติวิเสเสน ที่สุด ) | ||||
ตทัสสัตถิตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน ตํ อสฺส อตฺถิ ศัพท์ | วี , ส ,สี , อิก , อี , ร , วนฺตุ , มนฺตุ , ณ | |
ปกติตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน ปกต ศัพท์ ( และวิการ ) | มย | |
สังขยาตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน สังขยา ศัพท์ ( ปริมาณ ) | ก | |
ปูรณตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน ปูรณ ศัพท์ | ตย , ถ , ฐ , ม , อี | |
วิภาคตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน วิภาค ศัพท์ | ธา ( โดยส่วน ) , โส ( โดยการจำแนก ) | |
ภาวตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยแทน ภาว ศัพท์ | ตฺต , ณฺย , ตฺตณ , ตา , ณ , กณฺ | |
อัพยยตัทธิต | แปลว่า | ปัจจัยที่สำเร็จเป็นอัพยยศัพท์ แทน ปการ ศัพท์ | ถา ( ใช้กับ สรรพนาม ย เป็นต้น ) | |
ถํ ( ลงได้เฉพาะ กึ และ อิม เท่านั้น ) |
หมายเหตุ | ณ ปัจจัย | |||
มีหลักเกณฑ์ดังนี้ | ||||
ถ้าสระอยู่หน้าศัพท์เป็นรัสสะล้วนไม่มีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง | ||||
ต้องพฤทธิ์ คือ | ||||
1 | ทีฆะ อ เป็น อา | |||
2 | วิการ อิ , อี เป็น เอ | |||
3 | พฤทธิ์ อุ เป็น โอ | |||
เว้นไว้แต่สระที่อยู่หน้าศัพท์เป็นรัสสะ มีพยัญชนะสังโยคอยู่เบื้องหลัง หรือเป็นทีฆะไม่ต้องพฤทธิ์ | ||||
และพยัญชนะคือ ณ นั้น ต้องลบเสีย คงไว้แต่สระที่ ณ อาศัยอยู่และพยัญชนะอื่นๆ |
ศัพท์ | ปัจจัย | ตัทธิต | วิเคราะห์ | คำแปล |
พาลฺยํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | พาลสฺส ภาโว พาลฺยํ | ความเป็นแห่งคนพาล |
ปาหุเนยฺโย | เอยฺย | ฐานตัทธิต | ปาหุนํ อรหตีติ ปาหุเนยฺโย | ผู้ควรซึ่งของต้อนรับ |
กายิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | กาเยน วตฺตีติ กายิโก | เป็นไปในกาย |
พลวตี | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | พลํ อสฺสา อตฺถีติ พลวตี | ผู้มีกำลัง |
อิทฺธิมยํ | มย | ปกติตัทธิต | อิทฺธิยา ปกตํ อิทฺธิมยํ | อันทำแล้วด้วยฤทธิ์ |
เปตฺติกํ | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | ปิตุโน สนฺติกํ เปตฺติกํ | อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา |
การุญฺญํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | กรุณาย ภาโว การุญฺญํ | ความเป็นแห่งความกรุณา |
นาครตา | ณ | ราคาทิตัทธิต | นคเร วสนฺตีติ นาครา | ผู้อยู่ในนคร |
ตา | สมุหตัทธิต | นาครานํ สมุโห นาครตา | ประชุมแห่งชนผู้อยู่ในนคร | |
ตา | ภาวตัทธิต | นาครานํ ภาโว นาครตา | ความเป็นแห่งชาวนคร | |
มุฏฺฐสจฺจํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | มุฏฺฐสติสฺส ภาโว มุฏฺฐสจฺจํ | ความเป็นแห่งคนผู้มีสติอันหลงลืมแล้ว |
อาธิปฺปจฺจํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | อธิปติสฺส ภาโว อาธิปฺปจฺจํ | ความเป็นแห่งอธิบดี |
ปํสุกูลิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | ปํสุกูลํ ธาเรตีติ ปํสุกูลิโก | ผู้ทรงไว้ซึ่งผ้าบังสุกุล |
เวริโน | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | เวรํ เตสํ อตฺถีติ เวริโน | ผู้มีเวร |
เตปิฏโก | ณ | ราคาทิตัทธิต | เตปิฏกํ ธาเรตีติ เตปิฏโก | ผู้ทรงไว้ซี่งปิฏกสาม |
เวกลฺลํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | วิกลสฺส ภาโว เวกลฺลํ | ความเป็นแห่งผู้วิกล |
อาปายิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | อปาเย นิพตฺโต อาปายิโก | ผู้บังเกิดในอบาย |
เถยฺยํ | ณฺย / เณยฺย | ภาวตัทธิต | เถนสฺส ภาโว เถยฺยํ | ความเป็นแห่งขโมย |
คพฺภินี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | คพฺโภ อสฺสา อตฺถีติ คพฺภินี | ผู้มีครรภ์ |
สมฺมาทิฏฺฐิโก | อิก | ตทัสสัตถิตัทธิต | สมฺมาทิฏฺฐิ อสฺส อตฺถีติ สมฺมาทิฏฺฐิโก | ผู้มีสมฺมาทิฏฺฐิ |
ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | สมฺมาทิฏฺฐิยา นิยุตฺโต สมฺมาทิฏฺฐิโก | ผู้ประกอบลงด้วยสัมมาทิฏฐิ | |
ทกฺขิเณยฺโย | เอยฺย | ฐานตัทธิต | ทกฺขิณํ อรหตีติ ทกฺขิเณยฺโย | ผู้ควรซึ่งทักษิณา |
ทกฺขิณาย อนุจฺฉวิโก โหตีติ ทกฺขิเณยฺโย | ||||
วสิตฺตํ | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | วโส อสฺส อตฺถีติ วสี | ผู้มีอำนาจ |
ตฺต | ภาวตัทธิต | วสิสฺส ภาโว วสิตฺตํ | ความเป็นแห่งผู้มีอำนาจ | |
ภควา | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | ภคา อสฺส อตฺถีติ ภควา | ผู้มีโชค |
รชฺชํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | รญฺโญ ภาโว รชฺชํ | ความเป็นแห่งพระราชา |
โกสชฺชํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | กุสีทสฺส ภาโว โกสชฺชํ | ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน |
มาคธิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | มคเธ ชาโต มาคธิโก | ผู้เกิดในเมืองมคธ |
มคเธ วสตีติ มาคธิโก | ผู้อยู่ในเมืองมคธ | |||
อาโรคฺยํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | อโรคสฺส ภาโว อาโรคฺยํ | ความเป็นแห่งผู้ไม่มีโรค |
เจตสิกํ | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | เจตสา กตํ กมฺมํ เจตสิกํ | กรรมอันทำโดยใจ |
เจตสิ วตฺตตีติ เจตสิกํ | อันเป็นไปในใจ | |||
ภาควา | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | ภาโค อสฺส อตฺถีติ ภาควา | ผู้มีส่วน |
ภาคฺยํ | ณ | ตทัสสัตถิตัทธิต | ภคา อสฺส อตฺถีติ ภาโค | ผู้มีส่วน |
ณฺย | ภาวตัทธิต | ภาคสฺส ภาโว ภาคฺยํ | ความเป็นแห่งผู้มีส่วน | |
สุขินี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | สุขมสฺสา อตฺถีติ สุขินี | ผู้มีสุข |
ปารมี | ณ | ราคาทิตัทธิต | ปรมํ ปาเปตีติ ปารมี | |
ปรมาย อตฺถาย หิตาย สุขาย สํวตฺตตีติ ปารมี | ||||
พลี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | พลมสฺส อตฺถีติ พลี | ผู้มีกำลัง |
อาลฺสิยํ | ณิย | ภาวตัทธิต | อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ | ความเป็นแห่งชนผู้เกียจคร้าน |
มาคโธ | ณ | ราคาทิตัทธิต | มคเธ ชาโต มาคโธ | ผู้เกิดในเมืองมคธ |
มคเธ วสตีติ มาคโธ | ผู้อยู่ในเมืองมคธ | |||
ทลิทฺทตา | ตา | ภาวตัทธิต | ทลิทฺทสฺส ภาโว ทลิทฺทตา | ความเป็นแห่งคนขัดสน |
ราชคหิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | ราชคเห ชาโต ราชคหิโก | ผู้เกิดในเมืองราชคฤห์ |
สามญฺญํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ | ความเป็นแห่งสมณะ |
สมานสฺส ภาโว สามญฺญํ | ความเป็นแห่งชนผู้เสมอกัน | |||
ทณฺฑิตฺตํ | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | ทณฺโฑ อสฺส อตฺถีติ ทณฺฑี | ผุ้มีไม้เท้า |
ตฺต | ภาวตัทธิต | ทณฺฑิโน ภาโว ทณฺฑิตฺตํ | ความเป็นแห่งคนมีไม้เท้า | |
คพฺโภ | ณ | ราคาทิตัทธิต | คพฺเภ นิพฺพตฺโต คพฺโภ | ผู้บังเกิดแล้วในครรภ์ |
อทฺธิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | อทฺธานํ ปฏิปชฺชตีติ อทฺธิโก | ผู้ดำเนินสู่หนทางไกล |
ชานปทา | ณ | ราคาทิตัทธิต | ชนปเท วสนฺตีติ ชานปทา | ผู้อยู่ในชนบท |
สีลวา | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | สีลํ อสฺส อตฺถีติ สีลวา | ผู้มีศีล |
เวรี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | เวรํ อสฺส อตฺถีติ เวรี | ผู้มีเวร |
พาหุสจฺจํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | พหุสุตสฺส ภาโว พาหุสจฺจํ | ความเป็นแห่งชนผู้มีสุตะมาก |
อญฺชลิกรณีโย | อีย | ฐานตัทธิต | อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิกรณีโย | ผู้ควรซึ่งการกระทำอัญชลี |
อตฺถิโก | อิก | ตทัสสัตถิตัทธิต | อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิโก | ผู้มีความต้องการ |
โกสลฺลํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ | ความเป็นแห่งคนฉลาด |
อิสฺสริยํ | ณิย | ภาวตัทธิต | อิสฺสรสฺส ภาโว อิสฺสริยํ | ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่ |
รุกฺขมูลิกา | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | รุกฺขมูเล วสนฺตีติ รุกฺขมูลิกา | ผู้อยุ่ที่โคนไม้ |
มานโส | ณ | ราคาทิตัทธิต | มนสิ ภโว มานโส | ผู้มีในใจ |
ณ | ตทัสสัตถิตัทธิต | มานสํ อสฺส อตฺถีติ มานโส | ผู้มีมานัส ( ใจ ) | |
โส | วิภาคตัทธิต | มาเนน วิภาเคน มานโส | โดยความจำแนกด้วยใจ | |
ปาสาทิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | ปสาทํ ชเนตีติ ปาสาทิโก | ผู้ยังความเลื่อมใสให้เกิด |
ลาภี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | ลาโภ อสฺส อตฺถีติ ลาภี | ผู้มีลาภ |
กุฏุมฺภิโก | อิก | ตทัสสัตถิตัทธิต | กุฏุมฺพํ อสฺส อตฺถีติ กุฏุมฺพิโก | ผู้มีขุมทรัพย์ |
จนฺทนมโย | มย | ปกติตัทธิต | จนฺทเนน ปกโต จนฺทนมโย | อันทำแล้วด้วยไม้จันทน์ |
จนฺทนสฺส วิกาโร จนฺทนมโย | อันเป็นวิการแห่งไม้จันทน์ | |||
อุโปสถิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | อุโปสถํ สมาทิยตีติ อุโปสถิโก | ผู้สมาทานอุโบสถ |
จนฺทตฺตํ | ตฺต | ภาวตัทธิต | จนฺทสฺส ภาโว จนฺทตฺตํ | ความเป็นแห่งพระจันทร์ |
พาลิสิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | พลิเสน มจฺเฉ คณฺหาตีติ พาลิสิโก | ผู้จับปลาด้วยเบ็ด |
ปาปิมา | อิมนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | ปาปํ อสฺส อตฺถีติ ปาปิมา | ผู้มีบาป |
พลวา | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | พลํ อสฺส อตฺถีติ พลวา | ผู้มีกำลัง |
ปณฺณรสี | อี | ปูรณตัทธิต | ปณฺณรสนฺนํ ปูรณี ปณฺณรสี | ที่สิบห้า |
เหรญฺญิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | หิรญฺเญ นิยุตฺโต เหรญฺญิโก | ผู้ประกอบในเงิน |
อฏฺฐโม | ม | ปูรณตัทธิต | อฏฺฐนฺนํ ปูรโณ อฏฺฐโม | ที่แปด |
อรหตฺตํ | ตฺต | ภาวตัทธิต | อรหโต ภาโว อรหตฺตํ | ความเป็นแห่งพระอรหันต์ |
โสกินี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | โสโก อสฺส อตฺถีติ โสกินี | ผู้มีความโศก |
โกสมฺพิกา | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | โกสมฺพิยํ วสนฺตีติ โกสมฺพิกา | ผู้อยุ่ในเมืองโกสัมพี |
ศัพท์ | ปัจจัย | ตัทธิต | วิเคราะห์ | คำแปล |
พาลฺยํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | พาลสฺส ภาโว พาลฺยํ | ความเป็นแห่งคนพาล |
ปาหุเนยฺโย | เอยฺย | ฐานตัทธิต | ปาหุนํ อรหตีติ ปาหุเนยฺโย | |
กายิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | กาเยน วตฺตีติ กายิโก | เป็นไปในกาย |
พลวตี | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | พลํ อสฺสา อตฺถีติ พลวตี | ผู้มีกำลัง |
อิทฺธิมยํ | มย | ปกติตัทธิต | อิทฺธิยา ปกตํ อิทฺธิมยํ | อันทำแล้วด้วยฤทธิ์ |
เปตฺติกํ | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | ปิตุโน สนฺติกํ เปตฺติกํ | อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา |
การุญฺญํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | กรุณาย ภาโว การุญฺญํ | ความเป็นแห่งความกรุณา |
นาครตา | ณ | ราคาทิตัทธิต | นคเร วสนฺตีติ นาครา | ผู้อยู่ในนคร |
ตา | สมุหตัทธิต | นาครานํ สมุโห นาครตา | ประชุมแห่งชนผู้อยู่ในนคร | |
ตา | ภาวตัทธิต | นาครานํ ภาโว นาครตา | ความเป็นแห่งชาวนคร | |
มุฏฺฐสจฺจํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | มุฏฺฐสติสฺส ภาโว มุฏฺฐสจฺจํ | ความเป็นแห่งคนผู้มีสติอันหลงลืมแล้ว |
อาธิปฺปจฺจํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | อธิปติสฺส ภาโว อาธิปฺปจฺจํ | ความเป็นแห่งอธิบดี |
ปํสุกูลิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | ปํสุกูลํ ธาเรตีติ ปํสุกูลิโก | ผู้ทรงไว้ซึ่งผ้าบังสุกุล |
เวริโน | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | เวรํ เตสํ อตฺถีติ เวริโน | ผู้มีเวร |
เตปิฏโก | ณ | ราคาทิตัทธิต | เตปิฏกํ ธาเรตีติ เตปิฏโก | ผู้ทรงไว้ซี่งปิฏกสาม |
เวกลฺลํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | วิกลสฺส ภาโว เวกลฺลํ | ความเป็นแห่งผู้วิกล |
อาปายิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | อปาเย นิพตฺโต อาปายิโก | ผู้บังเกิดในอบาย |
เถยฺยํ | ณฺย / เณยฺย | ภาวตัทธิต | เถนสฺส ภาโว เถยฺยํ | ความเป็นแห่งขโมย |
คพฺภินี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | คพฺโภ อสฺสา อตฺถีติ คพฺภินี | ผู้มีครรภ์ |
สมฺมาทิฏฺฐิโก | อิก | ตทัสสัตถิตัทธิต | สมฺมาทิฏฺฐิ อสฺส อตฺถีติ สมฺมาทิฏฺฐิโก | ผู้มีสมฺมาทิฏฺฐิ |
ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | สมฺมาทิฏฺฐิยา นิยุตฺโต สมฺมาทิฏฺฐิโก | ผู้ประกอบลงด้วยสัมมาทิฏฐิ | |
ทกฺขิเณยฺโย | เอยฺย | ฐานตัทธิต | ทกฺขิณํ อรหตีติ ทกฺขิเณยฺโย | ผู้ควรซึ่งทักษิณา |
ทกฺขิณาย อนุจฺฉวิโก โหตีติ ทกฺขิเณยฺโย | ||||
วสิตฺตํ | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | วโส อสฺส อตฺถีติ วสี | ผู้มีอำนาจ |
ตฺต | ภาวตัทธิต | วสิสฺส ภาโว วสิตฺตํ | ความเป็นแห่งผู้มีอำนาจ | |
ภควา | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | ภคา อสฺส อตฺถีติ ภควา | ผู้มีโชค |
รชฺชํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | รญฺโญ ภาโว รชฺชํ | ความเป็นแห่งพระราชา |
โกสชฺชํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | กุสีทสฺส ภาโว โกสชฺชํ | ความเป็นแห่งคนเกียจคร้าน |
มาคธิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | มคเธ ชาโต มาคธิโก | ผู้เกิดในเมืองมคธ |
มคเธ วสตีติ มาคธิโก | ผู้อยู่ในเมืองมคธ | |||
อาโรคฺยํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | อโรคสฺส ภาโว อาโรคฺยํ | ความเป็นแห่งผู้ไม่มีโรค |
เจตสิกํ | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | เจตสา กตํ กมฺมํ เจตสิกํ | กรรมอันทำโดยใจ |
เจตสิ วตฺตตีติ เจตสิกํ | อันเป็นไปในใจ | |||
ภาควา | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | ภาโค อสฺส อตฺถีติ ภาควา | ผู้มีส่วน |
ภาคฺยํ | ณ | ตทัสสัตถิตัทธิต | ภคา อสฺส อตฺถีติ ภาโค | ผู้มีส่วน |
ณฺย | ภาวตัทธิต | ภาคสฺส ภาโว ภาคฺยํ | ความเป็นแห่งผู้มีส่วน | |
สุขินี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | สุขมสฺสา อตฺถีติ สุขินี | ผู้มีสุข |
ปารมี | ณ | ราคาทิตัทธิต | ปรมํ ปาเปตีติ ปารมี | |
ปรมาย อตฺถาย หิตาย สุขาย สํวตฺตตีติ ปารมี | ||||
พลี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | พลมสฺส อตฺถีติ พลี | ผู้มีกำลัง |
อาลฺสิยํ | ณิย | ภาวตัทธิต | อลสสฺส ภาโว อาลสิยํ | ความเป็นแห่งชนผู้เกียจคร้าน |
มาคโธ | ณ | ราคาทิตัทธิต | มคเธ ชาโต มาคโธ | ผู้เกิดในเมืองมคธ |
มคเธ วสตีติ มาคโธ | ผู้อยู่ในเมืองมคธ | |||
ทลิทฺทตา | ตา | ภาวตัทธิต | ทลิทฺทสฺส ภาโว ทลิทฺทตา | ความเป็นแห่งคนขัดสน |
ราชคหิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | ราชคเห ชาโต ราชคหิโก | ผู้เกิดในเมืองราชคฤห์ |
สามญฺญํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ | ความเป็นแห่งสมณะ |
สมานสฺส ภาโว สามญฺญํ | ความเป็นแห่งชนผู้เสมอกัน | |||
ทณฺฑิตฺตํ | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | ทณฺโฑ อสฺส อตฺถีติ ทณฺฑี | ผุ้มีไม้เท้า |
ตฺต | ภาวตัทธิต | ทณฺฑิโน ภาโว ทณฺฑิตฺตํ | ความเป็นแห่งคนมีไม้เท้า | |
คพฺโภ | ณ | ราคาทิตัทธิต | คพฺเภ นิพฺพตฺโต คพฺโภ | ผู้บังเกิดแล้วในครรภ์ |
อทฺธิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | อทฺธานํ ปฏิปชฺชตีติ อทฺธิโก | ผู้ดำเนินสู่หนทางไกล |
ชานปทา | ณ | ราคาทิตัทธิต | ชนปเท วสนฺตีติ ชานปทา | ผู้อยู่ในชนบท |
สีลวา | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | สีลํ อสฺส อตฺถีติ สีลวา | ผู้มีศีล |
เวรี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | เวรํ อสฺส อตฺถีติ เวรี | ผู้มีเวร |
พาหุสจฺจํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | พหุสุตสฺส ภาโว พาหุสจฺจํ | ความเป็นแห่งชนผู้มีสุตะมาก |
อญฺชลิกรณีโย | อีย | ฐานตัทธิต | อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิกรณีโย | ผู้ควรซึ่งการกระทำอัญชลี |
อตฺถิโก | อิก | ตทัสสัตถิตัทธิต | อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิโก | ผู้มีความต้องการ |
โกสลฺลํ | ณฺย | ภาวตัทธิต | กุสลสฺส ภาโว โกสลฺลํ | ความเป็นแห่งคนฉลาด |
อิสฺสริยํ | ณิย | ภาวตัทธิต | อิสฺสรสฺส ภาโว อิสฺสริยํ | ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่ |
รุกฺขมูลิกา | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | รุกฺขมูเล วสนฺตีติ รุกฺขมูลิกา | ผู้อยุ่ที่โคนไม้ |
มานโส | ณ | ราคาทิตัทธิต | มนสิ ภโว มานโส | ผู้มีในใจ |
ณ | ตทัสสัตถิตัทธิต | มานสํ อสฺส อตฺถีติ มานโส | ผู้มีมานัส ( ใจ ) | |
โส | วิภาคตัทธิต | มาเนน วิภาเคน มานโส | โดยความจำแนกด้วยใจ | |
ปาสาทิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | ปสาทํ ชเนตีติ ปาสาทิโก | ผู้ยังความเลื่อมใสให้เกิด |
ลาภี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | ลาโภ อสฺส อตฺถีติ ลาภี | ผู้มีลาภ |
กุฏุมฺภิโก | อิก | ตทัสสัตถิตัทธิต | กุฏุมฺพํ อสฺส อตฺถีติ กุฏุมฺพิโก | ผู้มีขุมทรัพย์ |
จนฺทนมโย | มย | ปกติตัทธิต | จนฺทเนน ปกโต จนฺทนมโย | อันทำแล้วด้วยไม้จันทน์ |
จนฺทนสฺส วิกาโร จนฺทนมโย | อันเป็นวิการแห่งไม้จันทน์ | |||
อุโปสถิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | อุโปสถํ สมาทิยตีติ อุโปสถิโก | ผู้สมาทานอุโบสถ |
จนฺทตฺตํ | ตฺต | ภาวตัทธิต | จนฺทสฺส ภาโว จนฺทตฺตํ | ความเป็นแห่งพระจันทร์ |
พาลิสิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | พลิเสน มจฺเฉ คณฺหาตีติ พาลิสิโก | ผู้จับปลาด้วยเบ็ด |
ปาปิมา | อิมนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | ปาปํ อสฺส อตฺถีติ ปาปิมา | ผู้มีบาป |
พลวา | วนฺตุ | ตทัสสัตถิตัทธิต | พลํ อสฺส อตฺถีติ พลวา | ผู้มีกำลัง |
ปณฺณรสี | อี | ปูรณตัทธิต | ปณฺณรสนฺนํ ปูรณี ปณฺณรสี | ที่สิบห้า |
เหรญฺญิโก | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | หิรญฺเญ นิยุตฺโต เหรญฺญิโก | ผู้ประกอบในเงิน |
อฏฺฐโม | ม | ปูรณตัทธิต | อฏฺฐนฺนํ ปูรโณ อฏฺฐโม | ที่แปด |
อรหตฺตํ | ตฺต | ภาวตัทธิต | อรหโต ภาโว อรหตฺตํ | ความเป็นแห่งพระอรหันต์ |
โสกินี | อี | ตทัสสัตถิตัทธิต | โสโก อสฺส อตฺถีติ โสกินี | ผู้มีความโศก |
โกสมฺพิกา | ณิก | ตรัตยาทิตัทธิต | โกสมฺพิยํ วสนฺตีติ โกสมฺพิกา | ผู้อยุ่ในเมืองโกสัมพี |
หลักคิด | |
ในการวิเคราะห์ศัพท์ | |
ตัทธิต | |
1 | แปล |
2 | แยกศัพท์กับปัจจัยออกจากกัน |
3 | กำหนดว่าเป็นปัจจัยอะไรในตัทธิตอะไร โดยกำหนดจากคำแปลว่าตรงกับคำแปลในตัทธิตไหน |
4 | วิเคราะห์ศัพท์โดยการเทียบเคียงแบบ ( เว้น ตรัตยา ราคา ชาตา ที่ต้องอาศัยคำแปลเป็นตัวเทียบเคียงในการวิเคราะห์ ) |
สมาสท้อง | |
1 | แปล |
2 | แยกศัพท์ออกจากกัน |
3 | จับคู่ศัพท์ที่สมาสกัน |
4 | กำหนดศัพท์ที่สมาสกันว่าเป็นสมาสอะไรโดยดูจากคำแปลว่าบ่งถึงสมาสอะไร |
5 | วิเคราะห์เทียบเคียงกับสมาสที่กำหนดไว้ |
6 | วิเคราะห์ศัพท์ที่จับคู่ไว้ให้ครบตามลำดับจนถึงคู่สุดท้าย |
7 | เรียกชื่อสมาส โดยเรียกสมาสตัวที่วิเคราะห์ท้ายสุดเป็นสมาสใหญ่ แล้วเรียกสมาสที่เหลือตามลำดับมา ว่าเป็นภายใน |
ที่อยู่ : 23/2 หมู่ 7 โรงเรียนพระปริยัติธรรม
วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
dummy 02-831-1000 ต่อ 13710