ดังกล่าวมาบ้างแล้วว่า ศัพท์แต่ละศัพท์นั้นมีความหมายในตัว ซึ่งไม่เหมือนกัน และวิธีใช้ก็ใช้ต่างกรณีกัน ดังนั้น จึงควรจะได้ศึกษา ความหมายของศัพท์ไว้บ้าง เพื่อจะได้นำศัพท์ไปใช้ได้ถูกเรื่อง ถูกความ ที่ประสงค์ ในตอนสุดท้ายของบทนี้ จึงจักแสดงศัพท์ต่างๆ พร้อมทั้ง ความหมายให้ดูพอเป็นอุทาหรณ์ ซึ่งจะได้แสดงให้เห็นว่าใช้ในกรณีไหนด้วย ดังนี้
๑. |
เฉโก |
ฉลาดในการทำความผิด ทำชั่ว การหากินตามปกติธรรมดาโลก |
|
กุสโล |
ฉลาดในการตัดความชั่ว |
|
โกวิโท |
ฉลาดในการประพฤติธรรม ในการทำความดี |
|
ปณฺฑิโต |
ฉลาดในการทำด้วยปัญญา |
๒. |
วินา |
เว้นอย่างสูง เว้นพลัดพราก คือ ขาดเสียมิได้ เช่น ผัวเว้นเมีย เว้นพระพุทธเจ้า เป็นต้น |
|
ฐเปตฺวา |
เว้นไว้ส่วนหนึ่งจากหลายๆ ส่วน โดยเอาไว้ส่วนหนึ่ง |
|
วชฺเชตฺวา |
เว้นหมดไม่มีเหลือ และเว้นเฉพาะเรื่องไม่ดี เรื่องเสียๆ |
|
อญฺญตร |
เว้นในกรณีพิเศษ เช่น เว้นจากฝัน เว้นที่เป็นข้อยกเว้น |
๓. |
นิสฺสาย |
อาศัย สถานที่ ตระกูล บุคคล เครื่องอุปโภค บริโภค อาศัยเป็นอยู่ |
|
ปฏิจฺจ |
อาศัยของไม่มีรูป เหตุการณ์ และอารมณ์ |
|
อุปาทาย |
อาศัยกิเลส สัตว์ และบุคคล อาศัยแนบชิด |
|
อาคมฺม |
อาศัยสิ่งไม่มีตัวตน ในเรื่องดี เช่น อาศัยนิพพาน ความไม่ประมาท |
|
อนฺวาย |
อาศัย วัย ความเจริญ การสืบบพันธุ์ อาศัยแบบ เป็นไปตามธรรมชาติ |
๔. |
เวยฺยาวจฺจ |
ความขวนขวายทางกาย ช่วยด้วยกำลังกาย |
|
อุสฺสุกฺก |
ความขวนขวายทั้งทางกาย ทั้งทางใจ |
๕. |
ภุญฺชติ |
บริโภคทางปากโดยตรง |
|
ปริภุญฺชติ |
บริโภคด้วยการใช้สอย |
๖. |
เนติ อาเนติ |
นำสิ่งที่มีชีวิตไป หรือนำสิ่งที่มีชีวิตมา |
|
หรติ อาหรติ |
นำสิ่งไม่มีชีวิตไป หรือนำมา |
|
ปวิสิตฺวา |
เข้าไปสู่สถานที่ เข้าไปทั้งตัว เอาตัวเข้าไป |
|
สมาปชฺชิตฺวา |
เข้าฌาน เข้าสมาบัติ |
๘. |
นิกฺขมิตฺวา |
ออกจากที่อยู่อาศัย ออกมาทั้งตัว |
|
เนกฺขมฺม |
ออกจากกาม ออกบวช |
|
วุฏฺฐาย |
ออกจากฌาน ออกจากสมาบัติ |
|
วุฏฺฐานํ |
ออกจากครรภ์ |
|
นิสฺสรณํ |
ออกจากทุกข์ ออกจากโลก |
๙. |
วิหรติ |
อยู่แบบมีคุณธรรมของผู้ทรงศีล เช่นพระพุทธเจ้า พระขีณาสพ |
|
วสติ อจฺฉติ |
อยู่แบบชาวบ้านทั่วไป |
|
ปฏิวสติ |
อยู่แบบประจำ ไม่โยกย้าย อยู่แบบตั้งถิ่นฐาน อาศัย |
|
นิวสติ |
อยู่ประจำ แต่อาจโยกย้าย แบบพักชั่วคราว |
|
อุปวสติ |
อยู่แบบชั่วคราว แบบพักอาศัยไม่นาน |
|
อธิวสติ |
อยู่แบบสิงอยู่ เป็นการอยู่ของพวกเทวดา ภูติปีศาจต่างๆ |
|
อชฺฌาวสติ |
อยู่แบบครอบครองเป็นเจ้าของ |
|
โหติ |
อยู่ในที่ที่มิใช่ที่อยู่ของตนเช่นพระอยู่ในบ้าน และความอยู่ของวัตถุสิ่งของทั้งหมด |
๑๐. |
อามนฺเตติ |
เรียกผู้อยู่ใกล้มองเห็นตัวกัน มักมี อิติ รับ |
|
ปกฺโกสติ |
เรียกผู้อยู่ไกลซึ่งยังมองไม่เห็นตัวกัน แต่เรียกได้ยิน มักไม่มี อิติ รับ |
|
ปกฺโกสาเปติ
|
เรียกผู้อยู่ไกลมองไม่เห็นตัว และเรียกไม่ได้ยิน ต้องใช้คนอื่นเรียกต่อ |
๑๑. |
นิพฺพตฺโต |
บังเกิด เกิดในกำเนิดต่างๆ เกิดเรื่องราว สุข ทุกข์ |
|
อุปฺปนฺโน |
เกิดขึ้น เกิดในกำเนิดต่างๆเกิดเรื่องราว เกิด เหตุการณ์ |
|
ชาโต |
เกิด คนเกิด สัตว์เกิด ความดีใจเสียใจเกิด และเกิดเป็นอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่เหมือนเติม เช่น ปาโป ชาโตติ ฯ |
๑๒. |
อนุจฺฉวิก |
“ควร” มักเรียงไว้หลังศัพท์อื่น เช่น ตทนุจฺฉวิกํ |
|
อนุรูป |
“ควร” มักเรียงไว้หลังศัพท์อื่น เช่น ขณานุรูปํ |
|
ปฏิรูป |
“ควร” มักเรียงไว้หน้าศัพท์อื่น |
๑๓. |
ขาทติ |
กินของแข็งที่ต้องเคี้ยวด้วยฟัน กินผลไม้ และ ใช้กับการกินของสัตว์ |
|
ภุญฺชติ |
กินธัญญชาติ คือ กินข้าวต่างๆ |
|
ปิวติ |
กินของเหลว ของที่ใช้ดื่ม เช่น นํ้า ยาคู |
|
อนุภุญฺชติ |
กินบุญ กินบาป (เสวย) |
๑๔. |
ชายิ |
เป็นกิริยาของผู้เกิด คือ ลูก |
|
วิชายิ |
เป็นกิริยาของผู้ให้เกิด คือ แม่ เท่ากับคำว่า “คลอด” |
|
โอรุยฺห อารุยฺห |
ลงหรือขึ้นจากที่สูง เช่น บันได ภูเขา หลังสัตว์ เป็นต้น |
|
อุตฺตริตฺวา โอตริตฺวา |
ขึ้นหรือลงสู่ที่ตํ่า เช่น ขึ้นจากนํ้า ลงแม่นํ้า |
|
ทิฏฺฐิ |
เห็นดีเห็นชั่ว เห็นด้วยใจ |
|
ทสฺสน |
เห็นด้วยปัญญา เห็นด้วยตา เห็นด้วยการมองดู |
๑๗. |
ธาเรติ |
กั้นร่ม ( ห่มจีวร สวมรองเท้า ) |
|
ปิทหติ |
กั้นทำนบ ( อุทกโสตํ ปิทหติ ) |
|
นิวาเรติ |
กั้นอันตราย ( อนฺตรายํ นิวาเรติ ) |
๑๘. |
ทสฺเสติ |
แสดงรูปธรรม แสดงสิ่งที่มองเห็นได้ แสดง แบบชี้แจง |
|
เทเสติ ทีเปติ |
แสดงนามธรรม แสดงอธิบาย |
๑๙. |
วิมติ |
สงสัยสิ่งที่เคยรู้มาแล้ว แต่จำไม่ได้ชัดเจน แน่นอน |
|
กงฺขา |
สงสัยสิ่งที่ไม่เคยรู้มาก่อน และอยากจะรู้ สงสัยเรื่องทั่วไป |
|
สํสโย |
สงสัยเรื่องทั่วไป |
๒๐. |
ทฺวิ |
ใช้กับสิ่งที่มีทั่วไป |
|
อุภ อุภย |
ใช้กับสิ่งที่มีเป็นคู่อยู่แล้วโดยธรรมชาติ |
๒๑. |
กลาป |
หางที่เป็นกำ เป็นพุ่ม ไม่มีเนื้อ เช่น หางม้า หางไก่ |
|
องฺคุฏฺฐ |
หางเนื้อ มีกระดูก เช่น หางวัว หางควาย |
๒๒. |
อคฺค |
ปลายที่อยู่ข้างบน ยอด |
|
อนฺต โกฏิ |
ปลายที่อยู่ด้าน ซ้าย ขวา |
|
มตฺถก ปริโยสาน |
ปลายที่อยู่ล่าง ปลายสุด |
|
ปริยนฺต |
ปลายรอบๆ ขอบวง |
|
สิข สิขร |
ปลายแหลม ยอดแหลม |
๒๓. |
อาห |
กล่าวเรื่องสั้นๆ ไม่กี่ตอน กล่าวโต้ตอบกัน และมี อิติ รับ |
|
กเถสิ |
กล่าวเรื่องที่ยาว เป็นเรื่องราว |
|
ภณติ |
กล่าวสวด (สรภัญญะ) |
|
ปฐติ |
กล่าวสวดเป็นแบบแผน |
|
ภาสติ |
กล่าวแบบผู้ใหญ่ |
|
วทติ |
กล่าวฝ่ายเดียว |
๒๔. |
อรหํ |
ใช้กับพระพุทธเจ้า เท่านั้น |
|
อรหา |
ใช้กับพระสาวก หรือพระอรหันต์ในลัทธิอื่น |
๒๕. |
อลงฺการ อาภรณ |
เครื่องประดับทั่วไป |
|
ปิลนฺธน |
เครื่องประดับเฉพาะอย่างๆ |
๒๖. |
เวเสน |
ใช้สำหรับคนแปลงเพศเป็นนั่นเป็นนี่ เท่ากับ คำว่า ปลอมตัว |
|
วณฺเณน |
ใช้สำหรับเทวดาแปลงเพศเป็นนั่นเป็นนี่ |
๒๗. |
เฉตฺวา |
ตัดกิเลสต่างๆ และตัดลิ่งของ เช่น ต้นไม้ |
|
ฉินฺทิตฺวา |
ตัดลิ่งของ ตัดต้นไม้ ไม่ใช้สำหรับตัดกิเลส |
๒๙. |
ปฏิวึส |
ส่วนสิ่งของ |
|
ภาค |
ส่วนแห่งธรรม ส่วนความดี ส่วนบุญ |
|
ปเทส |
ส่วนที่เป็นผืน เช่น แผ่นดิน |
|
โกฏฺฐาส |
ส่วนแห่งบุญ |
๓๐. |
นิคฺคณฺหาติ |
ข่มคนหรือสัตว์ |
|
วิกฺขมฺภติ |
ข่มกิเลส ข่มปีติ |
๓๑. |
นิวาเรติ |
ห้ามคน ห้ามสัตว์ แบบใช้มือโบกห้าม |
|
นิเธเสติ |
ห้ามใจตัวเอง ห้ามความชั่ว |
|
ปฏิกฺขิปิ |
ห้ามหรือคัดค้านผู้อื่น |
๓๒. |
อุสฺสาเปติ |
ยกของให้สูงขึ้น ยกธง |
|
อาโรเปติ |
ยกคน (อุ้ม) |
๓๓. |
อุยฺโยเชสิ |
ส่งไปอย่างมีเกียรติ ส่งคนมีเกียรติ ตามส่ง |
|
เปเสสิ |
ส่งไปอย่างสามัญธรรมดา |
|
ปหิณิ |
ส่งของหรือส่งข่าว |
|
อนุคจฺฉติ |
ตามไปส่ง |
๓๔. |
อาจิกฺขิ |
บอกเรื่องเล็กๆ บอกเฉพาะคน |
|
อาโเจสิ |
บอกเรื่องสำคัญ บอกเรื่องราว บอกแก่คนหมู่มาก |
๓๕. |
สยติ |
นอนแบบผู้ใหญ่ นอนในบ้าน นอนกลางคืน |
|
นิปชฺชติ |
นอนในที่ไม่ใช่ที่นอน นอนแบบไม่สบาย กลิ้งไปกลิ้งมา นอนแบบไม่ค่อยหลับ นอนแบบของสัตว์ สัตว์นอน |
๓๖. |
นิทฺทายิ |
หลับกลางวัน หลับนอกเวลานอน |
|
สุปติ |
หลับกลางคืน หลับสนิท หลับฝัน |
๓๗. |
คีว |
สำคอทั้งหมด |
|
คล |
รูคอหอยที่อาหารเข้าไป |
|
ขนฺธ |
ก้านคอ |
๓๘. |
อาทีนโว |
โทษความเสียหายในตัว โทษเศร้าหมอง |
|
อวณฺณํ |
โทษที่น่าติเตียน ไม่น่าสรรเสริญ |
|
วชฺชํ |
โทษที่ควรงดเว้น โทษทางพระวินัย |
|
ขลิตํ |
โทษที่เกิดจากความพลั้งเผลอ |
|
อปราโธ |
โทษอันเป็นความผิดทางกาย วาจา ใจ |
|
อจฺจโย |
โทษที่ล่วงเกิน |
|
โทส |
โทษอันเป็นกิเลส ความผิดเสียหาย |
๓๙. |
ภูมิ |
ดินที่อยู่ด้านบน พื้นดิน หน้าดิน |
|
ปฐวี |
ดินที่อยู่ลึก ดินชั้นล่าง ดินที่เป็นธาตุ |
๔๐. |
อาโป |
นํ้าที่เป็นธาตุเดิม |
|
อุทกํ อุทํ ทกํ |
นํ้าใช้ทั่วไป |
|
ปานียํ |
นํ้าดื่ม |
|
ปริโภชนียํ |
นํ้าใช้ นาที่คั้นจากผลไม้แล้วผสมกับลิงอื่น |
๔๑. |
วาโย |
ลมที่เป็นธาตุเดิม |
|
วาโต |
ลมธรรมดา ลมที่พัดไปมา |
|
อสฺสาสปสฺสาส |
ลมหายใจเข้าออก |
๔๒. |
เตโช |
ไฟอันเป็นธาตุเดิม |
|
อคฺคิ |
ไฟที่มีแสงสว่าง ไฟกิเลส |
|
ปาวโก |
ไฟป่า ไฟไหม้บ้านเรือน ไฟเกิดจากผลบาป |
๔๓. |
อุปฺปติตฺวา |
เหาะไปเลย ไม่หวนกลับลงมาอีก |
|
อพฺภุคฺคณฺตฺวา |
เหาะขึ้นไปแล้วกลับลงมาอีก |
๔๔. |
โอตาเรตฺวา |
วางของที่แบกหามมาลงไว้ |
|
ฐเปตฺวา |
วางของที่ถือมาลง วางของเล็กๆ ไว้ |
๔๕. |
โอโลเกติ |
มองดูด้ายตาเนื้อ |
|
โวโลเกติ |
มองดูด้วยตาปัญญาหรือดูด้วยญาณ |
๔๖. |
อุทร |
ท้องใส่ข้าว ท้องด้านนอก |
|
กุจฺฉิ |
ท้องใส่ลูก ท้องด้านใน |
๔๗. |
ถญฺญ |
นมผู้หญิงที่มีนํ้านมเลี้ยงลูกได้ (เต้านม) |
|
ถน |
นมที่ไม่มีนํ้านม นมผู้ชาย |
๔๘. |
อรญฺญ |
ป่าเล็กๆ ป่าที่มีคนอาศัยอยู่ได้ |
|
วน |
ป่าใหญ่ ไม่มีผู้คนตั้งบ้านเรือนอยู่ |
๔๙. |
จกฺขุ |
ตาส่วนใน ประสาทตา |
|
อกฺขิ |
ตาส่วนนอก ลูกตา |
๕๐. |
จกฺขุทุพฺพล |
คนตามืด ตามัว |
|
อนฺธจกฺขุ |
คนตาบอด |
๕๑. |
หิริ |
อายใจตัวเอง |
|
ลชฺชา |
อายคนอื่น |
๕๒. |
สตฺถา |
ใช้กับพระพุทธเจ้าพระองค์เดียว |
|
สตฺถาโร |
ใช้กับศาสดาในศาสนาอื่น |
๕๓. |
พนฺธิตฺวา |
ผูกอย่างหลวมๆ ผูกพอเป็นพิธี |
|
เวเฐตฺวา |
ผูกอย่างแน่นหนา ผูกมิดชิด |
๕๔. |
อุปฺปนฺโน |
เกิดแล้ว ไม่แน่ใจว่ายังอยู่หรือไม่ |
|
อุปฺปนฺโน โหติ |
เกิดแล้ว แน่ใจว่ายังเป็นไปอยู่ |
|
อุปฺปชฺชิ |
เกิดแล้ว แน่ใจว่าผ่านไปแล้ว |
๕๕. |
ปุฏฺโฐ |
เป็นกิริยาของปัญหาที่ถูกถาม |
|
ปุจฺฉิโต |
เป็นกิริยาของคนที่ถูกถาม |
๕๖. |
ยาจติ |
ขอทั่วไป |
|
ภิกฺขติ |
ขอแบบพระ ขอแบบแสดงอาการว่าต้องการ |
|
วาเรติ |
ขอพร ขอลูกสาว |
|
วิญฺญาเปติ |
ออกปากขอ |
๕๗. |
ปฏิยาเทติ |
ตกแต่งไทยธรรม |
|
มณฺเฑติ ปิลนฺธติ |
ตกแต่งร่างกาย |
๕๘. |
ฐเปตฺวา ฐเปติ |
ตั้งของไว้ วางของไว้ ตั้งตนไว้ |
|
ปติฏฺฐเปติ |
ยัง...ให้ตั้งไว้ |
|
ปติฏฺฐาเปติ |
ตั้งมั่น ตั้งอยู่เอง |
|
ฐตฺวา อฏฺฐาสิ |
ยืนอยู่ ดำรงอยู่ |
๕๙. |
อภิรูหติ อารูหติ |
ขึ้นขี่พาหนะ หรือสัตว์ หรือขึ้นสู่... |
|
อุตฺตรติ |
ขึ้นจากนา |
|
อุคฺคจฺฉติ |
ลอยขึ้นไป |
๖๐. |
โอโลเกติ |
มองดู เพราะยังไม่เห็น |
|
ปสฺสติ |
เห็น เพราะมองดูแล้ว |
๖๑. |
นิกุชฺชติ ปฏิกุชฺชติ |
ครอบครอง เอาฝาครอบ |
|
ปฏิปชฺชติ |
ครอบครองทรัพย์สมปัติ |
|
ปริคฺคณฺหาติ |
ครอบครองสถานที่ สิงครอบอยู่ |
|
ปริยาทาติ |
ครอบงำจิตใจ |
|
อภิภวติ |
ครอบงำกิเลส ข่มกิเลสไว้ |
๖๒. |
วสฺสติ ปวสฺสติ |
ฝนตก |
|
ภสฺสติ |
ของตก |
|
อตฺถงฺคเมติ |
พระอาทิตย์ตก |
|
ปตติ |
ของตก |
|
ปปตติ |
ตกลงไป |
|
ปฏิชานาติ |
ตกลงยอมรับ |
๖๓. |
ปหรติ |
ตีคน ตีสัตว์ เตะ ถีบ |
|
อาโกเฏติ |
ตีกลอง |
|
อคฺฆาเปติ |
ตีราคา |
๖๔. |
คณฺหาติ |
รับของทั่วไป |
|
ปริคณฺหาติ |
รับประเคน รับแบบมีพิธี |
|
อธิวาเสติ |
รับนิมนต์ |
|
สมฺปฏิจฺฉติ |
รับปาก รับรอง รับแข็งแรง |
|
ปฏิสุณาติ |
รับคำ |
|
สเมติ |
รับกัน เหมาะกัน |
|
สมาทิยติ |
รับศีล รับด้วยใจ |
๖๕. |
ภรติ โปเสติ |
เลี้ยงดู เลี้ยงคน สัตว์ |
|
ปริวิสติ |
เลี้ยงพระเลี้ยงแขก เลี้ยง แบบรับรองเต็มที่ |
|
สนฺตปฺเปติ |
เลี้ยงจนอิ่มหนำ |
|
วฑฺเฒติ |
เลี้ยงให้เจริญเติบโต |
๖๖. |
ทสฺเสติ |
แสดงรูปธรรม |
|
เทเสติ |
แสดงนามธรรม |
|
ทีเปติ |
แสดงอธิบายให้แจ่มแจ้งยิ่งขึ้น |
|
นิทฺทิสติ |
แสดงออก แสดงไข |
|
วิตฺถาเรสิ |
แสดงให้พิสดาร |
|
อปทิสติ |
แสดงอ้าง |
๖๗. |
ฆฏฺเฏติ |
เสียดสี กระทบ |
|
ฆํสติ |
สี กระทบ |
|
นิมฺมถติ |
สีไฟ |
๖๘. |
นิทฺธโน |
คนยากจน คนไร้ทรัพย์ |
|
ทลิทฺโท |
คนเข็ญใจ คนไร้ที่พึ่ง |
|
ทุคฺคโต |
คนตกยาก คนลำบาก |
๖๙. |
ขุทฺทก |
น้อย ด้วยขนาด |
|
อปฺป |
น้อย ด้วยจำนวน |
|
จูฬ อณุ |
น้อย ด้วยรูปร่าง |
๗๐. |
อนุกฺกเมน |
โดยลำดับก่อนหลัง |
|
อนุปุพฺเพน |
โดยลำดับขนาด สถานที่ และเวลา |
|
ปฏิปาฏิยา |
โดยลำดับบุคคล สถานที่ เวลา |
๗๑. |
มรติ มโต มริตพฺพํ |
เขาตายเอง |
|
มาเรติ มาริโต มาเรตพโพ |
เขาฆ่าคนตาย หรือคนถูกเขาฆ่าตาย |
|
มาราเปติ มาราปิโต มาราเปตพฺโพ |
เขาใช้ให้ผู้อื่นฆ่าคนตาย หรือเขาถูกใช้ให้ฆ่าคนตาย |
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙,ราชบัณฑิต). คู่มือ วิชาแปลไทยเป็นมคธ ป.ธ.๔-๙ วิชาแต่งไทยเป็นมคธ ป.ธ.๙. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ : บริษัท ฟองทองเอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด, ๒๕๔๔.
ที่อยู่ : 23/2 หมู่ 7 โรงเรียนพระปริยัติธรรม
วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
dummy 02-831-1000 ต่อ 13710