แบบเรียนสมาส

สมาส 

แปลว่า ย่อ (บท + บท)

เมื่อ ถ้า บ่งเป็น
บท + บท

คุณนาม + นามนาม  ( วิเสสนบุพพบท )
หรือ นามนาม + คุณนาม ( วิเสสนุตตรบท )
หรือ คุณนาม + คุณนาม ( วิเสสโนภยบท )
ที่สำคัญคือมีวิภัตติ และวจนะ เสมอกัน

กัมมธารยสมาส   
สังขยา + นามนาม
ทำเป็น เอก.นปุง.( สมาหาร )
ไม่ทำเป็นเอก.นปุง. ( อสมาหาร )
ทิคุสมาส  
บทออกสำเนียงวิภัตติ ( ทุติยา - สัตตมี ) + นามนาม / คุณนาม
( ระหว่างบทสมาส )
ตัปปุริสสมาส
น + นามนาม น บุพพบทกัมมธารยสมาส
( อน + นามนาม ) แปลว่าไม่ใช่ หรือ อุภยตัปปุริสสมาส
นามนาม + นามนาม
ทำเป็น เอก.นปุง.( สมาหาร )
ไม่ทำเป็นเอก.นปุง. ( อสมาหาร )
ทวันทวสมาส
อุปสัค / นิบาต +นามนาม
( มีอุปสัค / นิบาต เป็นประธานในบทปลง เป็นเอก.นปุงสกลิงค์ )
อัพยยีภาวสมาส
คุณนาม + นามนาม
หรือนามนาม + คุณนาม
หรือนามนาม + นามนาม แล้วแปลว่า มี , ไม่มี , เป็นไปกับด้วย
แปลว่ามี ( ตุลยา , ฉัฏฐี , ภินนา )
แปลว่าไม่มี ( น บุพพบทพหุพพิหิ )
แปลว่าเป็นไปกับด้วย ( สห บุพพบทพหุพพิหิสมาส )
พหุพพิหิสมาส

 

กัมมธารยสมาส

นามนาม + คุณนาม เป็นต้น มีวิภัตติและวจนะเสมอกัน
เมื่อ ถ้าเป็น จัดเป็น
บท + บท คุณนาม + นามนาม   วิเสสนบุพพบท
นามนาม + คุณนาม   วิเสสนุตตรบท
คุณนาม + คุณนาม   วิเสสโนภยบท
บทหน้า ประกอบด้วย อิว ศัพท์ + บทหลัง (อุปมาบุพพบท) ( แปลว่า เพียงดัง ) วิเสสโนปมบท 
บทหน้า + บทหลังประกอบด้วย อิว ศัพท์ (อุปมานุตตรบท)
บทหน้า ประกอบด้วย อิติ ศัพท์ + บทหลัง ( แปลว่า ว่า ) สัมภาวนบุพพบท
บทหน้าประกอบด้วย เอว ศัพท์ + บทหลัง ( แปลว่า คือ ) อวธารณบุพพบท

 

ทิคุสมาส

ปกติสังขยา + นามนาม  ถ้าทำให้เป็น เอกวจนะ นปุงสกลิงค์ จัดเป็น สมาหารทิคุสมาส
ถ้าไม่ทำให้เป็น เอกวจนะ นปุงสกลิงค์ จัดเป็น อสมาหารทิคุสมาส

 

ตัปปุริสสมาส

บทออกสำเนียงวิภัตติ ( ทุติยา - สัตตมี ) + นามนาม / คุณนาม
ถ้าออกสำเนียงด้วย .......วิภัตติ ( แปลว่า ..... ) บวก จัดเป็น
ทุติยาวิภัติ ( ซึ่ง,สู่,ยัง,สิ้น,ตลอด,กะ,เฉพาะ) นามนาม / คุณนาม ทุติยาตัปปุริสสมาส
ตติยาวิภัตติ ( ด้วย,โดย,อัน,ตาม,เพราะ,มี,ด้วยทั้ง ) " ตติยาตัปปุริสสมาส
จตุตถีวิภัตติ ( แก่, เพื่อ,ต่อ ) " จตุตถีตัปปุริสสมาส
ปัญจมีวิภัตติ ( แต่,จาก,กว่า,เหตุ )ฃ " ปัญจมีตัปปุริสสมาส
ฉัฏฐีวิภัตติ ( แห่ง,ของ,เมื่อ ) " ฉัฏฐีตัปปุริสสมาส
สัตตมีวิภัตติ ( ใน,ใกล้,ที่,ในเพราะ,เหนือ,บน,ณ ) " สัตตมีตัปปุริสสมาส

 

ทวันทวสมาส

( คล้ายๆวิเสสโนภยบท กัมมธารยสมาส แต่เป็นบทนามนามทั้งสองบท มีวิภัตติเสมอกัน) ( อาจจะมีมากกว่า 2 บทก็ได้ )
นามนาม + นามนาม  ถ้าทำให้เป็น เอกวจนะ นปุงสกลิงค์ จัดเป็น สมาหารทิคุสมาส
ถ้าไม่ทำให้เป็น เอกวจนะ นปุงสกลิงค์ จัดเป็น อสมาหารทิคุสมาส

 

อัพยยีภาวสมาส

อุปสัค / นิบาต + นามนาม ( แปลอุปสัค / นิบาต เป็นตัวประธาน )
มีรูปเป็น เอกวจนะ นปุงสกลิงค์อย่างเดียว
อุปสัค + นามนาม มีรูปเป็น เอกวจนะ นปุงสกลิงค์ จัดเป็น อุปสัคคปุพพกะ
นิบาต + นามนาม มีรูปเป็น เอกวจนะ นปุงสกลิงค์ จัดเป็น นิปาตปุพพกะ

 

พหุพพิหิสมาส ( 5 อย่าง )

คุณนาม + นามนาม
หรือนามนาม + คุณนาม
หรือนามนาม + นามนาม แล้วแปลว่า มี , ไม่มี , เป็นไปกับด้วย
แปลว่า มี    1 ตุลยาธิกรพหุพพิหิสมาส ( บทที่สมาสกัน ในวิเคราะห์มีวิภัตติเสมอกัน แต่แบ่งออกเป็น 6 อย่าง
แบ่งตามวิภัตติในวิเคราะห์ที่ใช้เป็นตัวประธานแห่งบทสมาส ( ทุติยา - สัตตมี )  )
2 ฉัฏฐีอุปมาพหุพพิหิ ( ประกอบด้วย อิว ศัพท์ มีฉัฏฐีวิภัตติในวิเคราะห์เป็นประธานแห่งบทสมาส )
3 ภินนาธิกรณพหุพพิหิสมาส ( บทที่สมาสกัน ในวิเคราะห์มีวิภัตติต่างกัน และใช้ฉัฏฐี.ในวิ.เป็นประธานแห่งบทสมาส )
แปลว่าไม่มี 1 น บุพพบทพหุพพิหิสมาส ( มี อ นำหน้า เอา จตุตถี หรือ ฉัฏฐี ในรูปวิเคราะห์เป็นประธานแห่งบทสมาส)
แปลว่าเป็นไปกับด้วย 1 สห บุพพบทพหุพพิหิสมาส ( มี ส นำหน้า ( สห ศัพท์ )  )

 

 

  ศัพท์สมาส แยกเป็น เป็นสมาส แปล วิเคราะห์
1 กณฺหเนตฺโต กณฺห + เนตฺโต ฉัฏฐีตุล.พหุพ. มีตาดำ กณฺหานิ เนตฺตานิ ยสฺส โส กณฺหเนตฺโต
2 กตกุสโล กต + กุสโล ตติยาตุล.พหุพ. มีกุศลอันทำแล้ว กตํ กุสลํ เยน โส กตกุสโล
3 ขตฺติยมาโน ขตฺติย + มาโน ฉัฏฐีตัป. มานะแห่งกษัตริย์ ขตฺติยสฺส มาโน ขตฺติยมาโน
4 คมิกภตฺตํ คมิก + ภตฺตํ จตุตถีตัป. ภัตรเพื่อผู้ไป คมิกสฺส ภตฺตํ คมิกภตฺตํ
5 คหฏฺฐปพฺพชิตา คหฏฺฐ + ปพฺพชิตา อสมาหารทวัน. คฤหัสถ์และบรรพชิต ท. คหฏฺโฐ จ ปพฺพชิโต จ คหฏฺฐปพฺพชิตา
6 ญาณชาลํ ญาณ + ชาลํ อุปมานุตตร.วิเสสโนปม.กัม. ญาณเพียงดังข่าย ญาณํ ชาลํ อิว ญาณชาลํ
  ญาณชาลํ ญาณ + ชาลํ อว.กัมม. ข่ายคือญาณ ญาณํ เอว ชาลํ ญาณชาลํ
7 ฐิตเปโม ฐิต + เปโม สตฺตมีตุล.พหุพ. มีความรักตั้งอยู่ ฐิโต เปโม ยสฺมึ โส ฐิตเปโม
8 ติทณฺฑํ ติ + ทณฺฑํ สมาหารทิคุ. ไม้ ๓ อัน ตโย ทณฺฑา ติทณฺฑํ
9 ติโรปาการํ ติโร + ปาการํ นิปาตปุพ.อัพยยี. ภายนอกแห่งกำแพง ปาการสฺส ตโร ติโรปาการํ
10 ทาสีทาสํ ทาสี + ทาสํ สมาหารทวัน. ทาสและทาสี ทาสี จ ทาโส จ ทาสีทาสํ
11 ทินฺนยโส ทินฺน + ยโส จตุตถีพหุพ. มียศอันท่านให้แล้ว ทินฺโน ยโส ยสฺส โส ทินฺนยโส
12 ทีฆชงฺโฆ ทีฆ + ชงฺโฆ วิเสสนบุพ.กัมม. แข้งยาว ทีโฆ ชงฺโฆ ทีฆชงฺโฆ
  ทีฆชงฺโฆ ทีฆ + ชงฺโฆ ฉัฏฐีตุล.พหุพ. มีแข้งยาว ทีฆา ชงฺฆา ยสฺส โส ทีฆชงฺโฆ
13 เทวราชา เทว + ราชา ฉัฏฐีตัป. พระราชาแห่งเทวดา เทวสฺส ราชา เทวราชา
14 เทวราชา เทว + ราชา วิเสสนุตตร.กัมม. เทวดาผู้พระราชา เทโว ราชา เทวราชา
15 นรนาริโย นร + นาริโย อสมาหารทวัน. นระและนารีท. นโร จ นารี จ นรนาริโย
16 นิกฺกิเลโส นิ + กิเลโส ปัญจมีพหุพ. มีกิเลสออกแล้ว นิกฺขนฺตา กิเสลา ยสฺมา โส นิกฺกิเลโส
17 นิโคฺรธปริมณฺฑโล นิโคฺรธ + ปริมณฺฑโล ฉัฏฐีอุปมา.พหุพ. มีปริมณฑลเพียงดังปริมณฑลแห่งต้นนิโครธ นิโคฺรธสฺส ปริมณฺฑลํ อิว ปริมณฺฑลํ ยสฺส โส นิโคฺรธปริมณฺฑโล
18 นิทฺทรถํ นิ + ทรถํ นิปาตปุพ.อัพยยี. ความไม่มีความกระวนกระวาย ทรถสฺส อภาโว นิทฺทรถํ
19 นิทฺทรโถ นิ + ทรโถ น บุพพ.พหุพ. มีความกระวนกระวายหามิได้ นตฺถิ ตสฺส ทรโถติ นิทฺทรโถ
20 ปญฺจินฺทฺริยานิ ปญฺจ + อินฺทฺริยานิ อสมาหาร.ทิคุ. อินทรีย์ ๕ ท. ปญฺจ อินฺทฺริยานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ
21 ปญฺญาธนํ ปญฺญา + ธนํ อว.กัมม. ทรัพย์คือปัญญา ปญฺญา เอว ธนํ
22 ปาปรหิโต ปาป + รหิโต ปัญจมี.ตัป. ผู้เว้นแล้วจากบาป ปาปา รหิโต ปาปรหิโต
23 ปุญฺญสมฺมตํ ปุญฺญ + สมฺมตํ สัมภาวน.กัม. สมมุติว่าบุญ ปุญฺญํ อิติ สมฺมตํ ปุญฺญสมฺมตํ
24 ปุริสสทฺโท ปุริส + สทฺโท ฉัฏฐีตัป. เสียงแห่งบุรุษ ปุริสสฺส สทฺโท ปุริสสทฺโท
  ปุริสสทฺโท ปุริส + สทฺโท อว.กัมม. ศัพท์คือบุรุษ ปุริโส เอว สทฺโท ปุริสสทฺโท
25 ปุริสุตฺตโม ปุริส +อุตฺตโม วิเสสนุตตร.กัมม. บุรษสูงสุด ปุริโส อุตฺตโม ปุริสุตฺตโม
26 พุทฺธสีโห พุทฺธ + สีโห อุปมานุตตร.วิเสสโนปม.กัม. พระพุทธเจ้าเพียงดังสีหะ พุทฺโธ สีโห อิว พุทฺธสีโห
27 มหานาโค มหา + นาโค วิเสสนบุพพ กัม. นาคใหญ่ มหนฺโต นาโค มหานาโค
28 มหิฬามุโข มหิฬา + มุโข ฉัฏฐีอุปมาพหุพ. มีหน้าเพียงดังหน้าแห่งช้างพัง มหิฬาย มุขํ อิว มุขํ ยสฺส โส มหิฬามุโข
29 วนรุกฺโข วน + รุกฺโข สัตตมีตัป. ต้นไม้ในป่า วเน รุกฺโข วนรุกฺโข
30 สงฺฆทานํ สงฺฆ + ทานํ จตุตถีตัป. ทานเพื่อสงฆ์ สงฺฆสฺส ทานํ สงฺฆทานํ
31 สทฺทสญฺญา สทฺท + สญฺญา สัมภาวน.กัม. ความสำคัญว่าเสียง สทฺโท อิติ สญฺญา สทฺทสญฺญา
32 สารีปุตฺตตฺเถโร สารีปุตฺต + เถโร วิเสสนุตตร.กัมม. พระสารีบุตรผู้เถระ สารีปุตฺโต เถโร สารีปุตฺตตฺเถโร
  สารีปุตฺตตฺเถโร สารีปุตฺต + เถโร วิเสสนบุพ.กัมม. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร สารีปุตฺโต เถโร สารีปุตฺตตฺเถโร
33 สูรสีโห สูร + สีโห อุปมานุตตร.วิเสสโนปม.กัม. กล้าเพียงดังสีหะ สูโร สีโห อิว สูรสีโห
  สูรสีโห สูร + สีโห วิเสสนบุพ.กัมม. สีหะผู้กล้า สูโร สีโห สูรสีโห
34 อนฺโตเคหํ อนฺโต + เดหํ นิปาตปุพ.อัพยยี. ภายในแห่งเรือน เคหสฺส อนฺโต อนฺโตเคหํ
35 อนฺธวธิรา อนฺธ + วธิรา อสมาหารทวัน. คนบอดและคนหนวกทั้งหลาย อนฺโธ จ วธิโร จ อนฺธวธิรา
36 อผาสุกํ อ + ผาสุกํ อุภยตัปปุริส. มิใช่ความสำราญ น ผาสุกํ อผาสุกํ
  อผาสุกํ อ + ผาสุกํ น บุพพ.พหุพ. มีความสำราญหามิได้ นตฺถิ ตสฺส ผาสุกนฺติ อผาสุกํ
37 อรญฺญคโต อรญฺญ + คโต ทุติยาตัป. ไปแล้วสู่ป่า อรญฺญํ คโต อรญฺญคโต
38 อุปวนํ อุป + วนํ อุปสัคคปุพ.อัพพยี. ที่ใกล้เคียงแห่งป่า วนสฺส สมีปํ อุปวนํ

 

เติมคำในช่องที่หายไป

  ศัพท์สมาส แยกเป็น เป็นสมาส แปล วิเคราะห์
1 กณฺหเนตฺโต กณฺห + เนตฺโต ฉัฏฐีตุล.พหุพ. มีตาดำ กณฺหานิ เนตฺตานิ ยสฺส โส กณฺหเนตฺโต
2 กตกุสโล กต + กุสโล ตติยาตุล.พหุพ. มีกุศลอันทำแล้ว กตํ กุสลํ เยน โส กตกุสโล
3 ขตฺติยมาโน ขตฺติย + มาโน ฉัฏฐีตัป. มานะแห่งกษัตริย์ ขตฺติยสฺส มาโน ขตฺติยมาโน
4 คมิกภตฺตํ คมิก + ภตฺตํ จตุตถีตัป. ภัตรเพื่อผู้ไป คมิกสฺส ภตฺตํ คมิกภตฺตํ
5 คหฏฺฐปพฺพชิตา คหฏฺฐ + ปพฺพชิตา อสมาหารทวัน. คฤหัสถ์และบรรพชิต ท. คหฏฺโฐ จ ปพฺพชิโต จ คหฏฺฐปพฺพชิตา
6 ญาณชาลํ ญาณ + ชาลํ อุปมานุตตร.วิเสสโนปม.กัม. ญาณเพียงดังข่าย ญาณํ ชาลํ อิว ญาณชาลํ
  ญาณชาลํ ญาณ + ชาลํ อว.กัมม. ข่ายคือญาณ ญาณํ เอว ชาลํ ญาณชาลํ
7 ฐิตเปโม ฐิต + เปโม สตฺตมีตุล.พหุพ. มีความรักตั้งอยู่ ฐิโต เปโม ยสฺมึ โส ฐิตเปโม
8 ติทณฺฑํ ติ + ทณฺฑํ สมาหารทิคุ. ไม้ ๓ อัน ตโย ทณฺฑา ติทณฺฑํ
9 ติโรปาการํ ติโร + ปาการํ นิปาตปุพ.อัพยยี. ภายนอกแห่งกำแพง ปาการสฺส ตโร ติโรปาการํ
10 ทาสีทาสํ ทาสี + ทาสํ สมาหารทวัน. ทาสและทาสี ทาสี จ ทาโส จ ทาสีทาสํ
11 ทินฺนยโส ทินฺน + ยโส จตุตถีพหุพ. มียศอันท่านให้แล้ว ทินฺโน ยโส ยสฺส โส ทินฺนยโส
12 ทีฆชงฺโฆ ทีฆ + ชงฺโฆ วิเสสนบุพ.กัมม. แข้งยาว ทีโฆ ชงฺโฆ ทีฆชงฺโฆ
  ทีฆชงฺโฆ ทีฆ + ชงฺโฆ ฉัฏฐีตุล.พหุพ. มีแข้งยาว ทีฆา ชงฺฆา ยสฺส โส ทีฆชงฺโฆ
13 เทวราชา เทว + ราชา ฉัฏฐีตัป. พระราชาแห่งเทวดา เทวสฺส ราชา เทวราชา
14 เทวราชา เทว + ราชา วิเสสนุตตร.กัมม. เทวดาผู้พระราชา เทโว ราชา เทวราชา
15 นรนาริโย นร + นาริโย อสมาหารทวัน. นระและนารีท. นโร จ นารี จ นรนาริโย
16 นิกฺกิเลโส นิ + กิเลโส ปัญจมีพหุพ. มีกิเลสออกแล้ว นิกฺขนฺตา กิเสลา ยสฺมา โส นิกฺกิเลโส
17 นิโคฺรธปริมณฺฑโล นิโคฺรธ + ปริมณฺฑโล ฉัฏฐีอุปมา.พหุพ. มีปริมณฑลเพียงดังปริมณฑลแห่งต้นนิโครธ นิโคฺรธสฺส ปริมณฺฑลํ อิว ปริมณฺฑลํ ยสฺส โส นิโคฺรธปริมณฺฑโล
18 นิทฺทรถํ นิ + ทรถํ นิปาตปุพ.อัพยยี. ความไม่มีความกระวนกระวาย ทรถสฺส อภาโว นิทฺทรถํ
19 นิทฺทรโถ นิ + ทรโถ น บุพพ.พหุพ. มีความกระวนกระวายหามิได้ นตฺถิ ตสฺส ทรโถติ นิทฺทรโถ
20 ปญฺจินฺทฺริยานิ ปญฺจ + อินฺทฺริยานิ อสมาหาร.ทิคุ. อินทรีย์ ๕ ท. ปญฺจ อินฺทฺริยานิ ปญฺจินฺทฺริยานิ
21 ปญฺญาธนํ ปญฺญา + ธนํ อว.กัมม. ทรัพย์คือปัญญา ปญฺญา เอว ธนํ
22 ปาปรหิโต ปาป + รหิโต ปัญจมี.ตัป. ผู้เว้นแล้วจากบาป ปาปา รหิโต ปาปรหิโต
23 ปุญฺญสมฺมตํ ปุญฺญ + สมฺมตํ สัมภาวน.กัม. สมมุติว่าบุญ ปุญฺญํ อิติ สมฺมตํ ปุญฺญสมฺมตํ
24 ปุริสสทฺโท ปุริส + สทฺโท ฉัฏฐีตัป. เสียงแห่งบุรุษ ปุริสสฺส สทฺโท ปุริสสทฺโท
  ปุริสสทฺโท ปุริส + สทฺโท อว.กัมม. ศัพท์คือบุรุษ ปุริโส เอว สทฺโท ปุริสสทฺโท
25 ปุริสุตฺตโม ปุริส +อุตฺตโม วิเสสนุตตร.กัมม. บุรษสูงสุด ปุริโส อุตฺตโม ปุริสุตฺตโม
26 พุทฺธสีโห พุทฺธ + สีโห อุปมานุตตร.วิเสสโนปม.กัม. พระพุทธเจ้าเพียงดังสีหะ พุทฺโธ สีโห อิว พุทฺธสีโห
27 มหานาโค มหา + นาโค วิเสสนบุพพ กัม. นาคใหญ่ มหนฺโต นาโค มหานาโค
28 มหิฬามุโข มหิฬา + มุโข ฉัฏฐีอุปมาพหุพ. มีหน้าเพียงดังหน้าแห่งช้างพัง มหิฬาย มุขํ อิว มุขํ ยสฺส โส มหิฬามุโข
29 วนรุกฺโข วน + รุกฺโข สัตตมีตัป. ต้นไม้ในป่า วเน รุกฺโข วนรุกฺโข
30 สงฺฆทานํ สงฺฆ + ทานํ จตุตถีตัป. ทานเพื่อสงฆ์ สงฺฆสฺส ทานํ สงฺฆทานํ
31 สทฺทสญฺญา สทฺท + สญฺญา สัมภาวน.กัม. ความสำคัญว่าเสียง สทฺโท อิติ สญฺญา สทฺทสญฺญา
32 สารีปุตฺตตฺเถโร สารีปุตฺต + เถโร วิเสสนุตตร.กัมม. พระสารีบุตรผู้เถระ สารีปุตฺโต เถโร สารีปุตฺตตฺเถโร
  สารีปุตฺตตฺเถโร สารีปุตฺต + เถโร วิเสสนบุพ.กัมม. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร สารีปุตฺโต เถโร สารีปุตฺตตฺเถโร
33 สูรสีโห สูร + สีโห อุปมานุตตร.วิเสสโนปม.กัม. กล้าเพียงดังสีหะ สูโร สีโห อิว สูรสีโห
  สูรสีโห สูร + สีโห วิเสสนบุพ.กัมม. สีหะผู้กล้า สูโร สีโห สูรสีโห
34 อนฺโตเคหํ อนฺโต + เดหํ นิปาตปุพ.อัพยยี. ภายในแห่งเรือน เคหสฺส อนฺโต อนฺโตเคหํ
35 อนฺธวธิรา อนฺธ + วธิรา อสมาหารทวัน. คนบอดและคนหนวกทั้งหลาย อนฺโธ จ วธิโร จ อนฺธวธิรา
36 อผาสุกํ อ + ผาสุกํ อุภยตัปปุริส. มิใช่ความสำราญ น ผาสุกํ อผาสุกํ
  อผาสุกํ อ + ผาสุกํ น บุพพ.พหุพ. มีความสำราญหามิได้ นตฺถิ ตสฺส ผาสุกนฺติ อผาสุกํ
37 อรญฺญคโต อรญฺญ + คโต ทุติยาตัป. ไปแล้วสู่ป่า อรญฺญํ คโต อรญฺญคโต
38 อุปวนํ อุป + วนํ อุปสัคคปุพ.อัพพยี. ที่ใกล้เคียงแห่งป่า วนสฺส สมีปํ อุปวนํ
  • Author: admin
  • Hits: 12422





 


46589278
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All days
24901
50715
229315
46152704
75616
1172714
46589278

Your IP: 72.14.201.155
2024-11-02 14:20
© Copyright pariyat.com 2024. by กองทะเบียนและสารสนเทศ

Search